การเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการจัดการการเงินส่วนบุคคลก่อนและหลังเรียนรายวิชาการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Main Article Content

กลางใจ แสงวิจิตร
ธนาวุธ แสงกาศนีย์
พรทิพย์ จิระธำรง
พเนิน อินทะระ
ศรรสนีย์ สังข์สุวรรณ
ภูมิ ชี้เจริญ

Abstract

The purpose of this study was to compare knowledge and behaviors in personal financial planning of Prince of Songkla University students who enrolled in a 473-199 Personal Finance course. This study utilized one group pretest and posttest method designed to collect data from 221 students who took the course in the second semester, 2017. The data were analyzed using t-test and chi-square. The results showed that the posttest score was significantly higher than that of the pretest in both personal financial planning knowledge and behavior. Moreover, there was a significant relationship between the level of study and personal financial planning knowledge.


บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจ และพฤติกรรมการจัดการการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษาก่อนและหลังลงทะเบียนเรียนวิชา 473-199 การเงินส่วนบุคคล (Personal Finance) ซึ่งเก็บข้อมูลโดยวิธีการวิจัยแบบหนึ่งกลุ่มที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จากนักศึกษาจำนวน 221 คน ที่เข้าเรียนรายวิชาดังกล่าวในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ T-test และ Chi Square ทั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีความรู้และพฤติกรรมการจัดการการเงินส่วนบุคคลหลังเรียนวิชาการเงินส่วนบุคคลดีกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ ยังพบว่าชั้นปีมีความสัมพันธ์กับความรู้การจัดการการเงินส่วนบุคคลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กมลรัตน์ อายุวัฒน์. (2553). ความรู้ความเข้าใจของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดนครสวรรค์ ในการขอรับการสนับสนุนจากกองทุนคุ้มครองเด็ก (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

กรวีร์ นันท์ชัยพฤกษ์. (2558). ความรู้และพฤติกรรมการเงินของข้าราชการครูในเขตกรุงเทพมหานคร (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

กฤษฎา เสกตระกูล. (2553). การวางแผนการเงินส่วนบุคคล: เมื่อประชาชนมั่งคั่ง ประเทศชาติก็มั่นคง. จาก https://www.set.or.th/set/financialplanning/knowledgedetail.do?contentId=535

การเงินธนาคาร. (2560). หลุมพรางที่ควรเลี่ยง: เกษียณไม่ใช่เรื่องไกลตัว. จาก https://www.moneyandbanking.co.th/new/15891/62/หลุมพรางที่ควรเลี่ยง-เกษียณไม่ใช่เรื่องไกลตัว

กิจติพร สิทธิพันธุ์. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของประชาชนในกรุงเทพมหานคร (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.

เกษม วัฒนชัย. (2544). นโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

จันทร์ทิพย์ ชูสมภพ. (2539). ความรู้ ทัศนคติ และแนวโน้มการปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานที่ติดเชื้อเอดส์ ของพนักงานและผู้ใช้แรงงาน ในโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จันทร์เพ็ญ บุญฉาย. (2552). การจัดการการเงินส่วนบุคคล: กรณีศึกษาเฉพาะกลุ่มวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ชาตรี จารุเดชานนท์. (2557). การเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาบริหารธุรกิจและสาขาวิศวกรรมศาสตร์ (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). การจัดสรรการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ. จาก https://www.bot.or.th/Thai/Segmentation/Student/setthatat/DocLib_Settha_Paper_2557/M_Doc_Prize4_2557.pdf

ภาณุวัฒน์ กองราช. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศไทย: กรณีศึกษา Facebook มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

รัชนีกร วงศ์จันทร์. (2555). ผลของการเรียนวิชาการเงินส่วนบุคคลที่มีต่อความตระหนักในการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษาในชั้นเรียน (รายงานวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วิภาดา สุขสวัสดิ์. (2558). การศึกษาความรู้ ความเข้าใจ ของผู้เสียภาษีอากรที่มีผลต่อทัศนคติการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 13 (เขตคลองเตย) (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพฯ.

วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ. (2555). ข้อคิดสำหรับการออมเพื่อเกษียณ. จาก https://www.moneymartthai.com/guru/index.php?cat=dd5c07036f2975ff4bce 568b6511d3bc&know_id=645

ศิริวรรณ มนอัตระผดุง, และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2559). การเตรียมตัวเกษียณอายุราชการของผู้บริหารสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 49-62.

ศิริวรรณ ว่องวีรวุฒิ, และ บุณฑริก ศิริกิจจาขจร. (2553). ทัศนคติและพฤติกรรมในการจัดการทางการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษาปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. BU Academic Review, 9(2), 55 - 63.

สนทยา เขมวิรัตน์, ดวงใจ เขมวิรัตน์, ธานี คงเพ็ชร์, และ พรประภา แสงสินเจริญชัย. (2555). ความรู้และทัศนะของนักศึกษาเกี่ยวกับการจัดการการเงินส่วนบุคคล: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตกรุงเทพมหานคร (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สฤณี อาชวานันนทกุล. (2556). ความรู้เรื่องการเงิน (financial literacy) (2): พฤติกรรมการเงินของคนไทย. จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/516205

สิริพร ลาภพานิชยกุล. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบการตระหนักรู้และความสนใจในเรื่องการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

สุพานี โสพร. (2548). การวางแผนทางการเงินเพื่อที่อยู่อาศัยของบุคลากรสาย ง ผู้พักอาศัยในหอพักจุฬานิวาสของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุมาลี จันทร์ชลอ. (2542). การวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.