พัฒนาการของการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบเมืองภายในเขตเมืองเก่าเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • สิทธิกานต์ สัตย์ซื่อ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ณวิทย์ อ่องแสวงชัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2020.9

คำสำคัญ:

สัณฐานวิทยาเมือง, การจัดรูปที่ว่าง, องค์ประกอบเมือง, เมืองเชียงใหม่

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการศึกษาพัฒนาการของเขตเมืองเก่าเชียงใหม่ที่ปรากฏความซับซ้อนของลักษณะทางกายภาพ อันเกิดขึ้นจากสาเหตุ ปัจจัยที่ควบคุมและส่งอิทธิพลต่อโครงสร้างในการจัดรูปที่ว่างและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของเมือง ครอบคลุมถึงการอภิปรายกระบวนการเชิงสัณฐานวิทยาไปตามลำดับขั้นตอนในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของรูปสัณฐานเมืองเชียงใหม่ นับตั้งแต่ พ.ศ. 1839-2561 ผ่านการวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงสร้างหลักของเมือง ถนนและระบบโครงข่ายทางสัญจร ตลอดจนองค์ประกอบเมืองทั้งหมดในแต่ละช่วงระยะเวลำผลการศึกษาบ่งชี้ถึงกำเนิดและพัฒนาการของรูปสัณฐานเมืองเชียงใหม่ทั้งหมด 5 ช่วงระยะ นับตั้งแต่แรกเริ่มกระบวนการก่อรูปร่างรูปทรงของเมืองรูปสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส ที่ถูกประกอบสร้างขึ้นจากแนวกำแพงเมือง คูเมือง และประตูเมืองในแต่ละด้านผ่านระบบพิกัดแนวแกน ภายในปรากฏลักษณะโครงข่ายทางสัญจรแบบเส้นตรง (Linear network) โดยมีแนวแกนถนนในด้านทิศเหนือ-ใต้และทิศตะวันออก-ตะวันตกเป็นแนวแกนหลัก จนกระทั่งมีพัฒนาการของโครงข่ายไปตามการแบ่งตัวของสัณฐานซุปเปอร์บล็อก (Superblock) สัณฐานบล็อก (Block) และการสร้างประตูเมืองในแต่ละลำดับ ตลอดจนการตั้งถิ่นฐานของชุมชนและการสร้างศาสนสถานต่างๆ ที่สัมพันธ์กับการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบเมืองภายใต้เงื่อนและอิทธิพลหลักทางความเชื่อในระยะที่ 2-3 นับตั้งแต่การจัดองค์ประกอบเมืองที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อเรื่องผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์, การจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบเมืองตามผังภาพวาสตุวิทยา (Vastu Mandala), การพัฒนารูปศาสนสถานตามคติจักรวาล (Buddhist cosmology) และการจัดรูปที่ว่างของเมืองตามแนวคิดเรื่องทักษา (Thaksa astrology) จนกระทั่งมีพัฒนาการกลำยเป็นเมืองป้อมปราการ (Citadel) ในระยะที่ 4 ภายใต้เงื่อนไขและปัจจัยแวดล้อมของสงคราม ก่อนจะเกิดการสลำยตัวของโครงสร้างหลักและการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการเมืองที่ส่งผลต่อการพัฒนาย่านศูนย์ราชการและการพัฒนาโครงข่ายทางสัญจรแบบตารางที่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete grid network) ในปัจจุบัน

References

Apavatjrut, D., Khemmook, Y., & Chaiyarat, W. (Ed.). (2005). Maimīwatnaithaksāmư̄angchīangmai Botphisūt khwāmčhingdōinakwichākānthō̜ngthin. (in Thai) [No temple in Thaksa Astrology: Proof of truth by local scholars]. Chiang Mai: Social Research Institute Chiang Mai University.

Chœ̄ Green Part., Ltd. (1997). Rāingānkānkhutkhonlæbūranakamphǣngmư̄angchīangmai. (in Thai) [Report on Chiang Mai city wall excavation and restoration]. Chiang Mai: Chœ̄ Green.

Department of Lands. (2018). Rabopkhonhārūpplǣngthīdin. [Land Plots Searching System]. Retrieved from http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/

Dumrikul, S., Geminai, & Associate Co., Ltd. (2006). Rāingānwičhaikānkhutkhonthāngbōrānkhadīnǣokam phǣngbōrānlǣngbōrānkhadīklāngwīang Bō̜riwēnphư̄nthīkō̜sānghō̜prawatsāt Mư̄angchīangmai. (in Thai) [Research report on ancient wall archaeological excavations in Historical center’s construction site]. Chiang Mai: Faculty of Fine Arts.

Ginsburg, H. (2000). Thai Art and Culture: Historic Manuscripts from Western Collections.Chiang Mai: Silkworm Books.

Guntang, I. (1990). Kānsưksālaksanachapho̜læphatthanākānkhō̜ngkhrōngkhāikānsančhō̜nlæphư̄nthīplūksāng naibō̜riwēnnakornchīangmai. (in Thai) [A study of characteristics and development of transportation network and built up area in the City of Chiang Mai] (Unpublished master’ thesis (Urban and Regional Planning)). Graduate School Chulalongkorn University, Bangkok.

Michubot, W. (2017). Yō̜nʻadītlānnā: Tō̜n Rūamrư̄angnārūčhākphǣnthīmư̄angnakornchīangmai(Phim khrang thī 2). (in Thai) [Back to the past of Lanna: A collection of interesting stories from Chiang Mai’s city map]. Bangkok: Chulalongkorn University.

Moudon, A. V. (1997). Urban Morphology as an emerging interdisciplinary field. Urban Morphology, 1, 3-10.

Ongsakun, S. (2000). Chumchonbōrānnaiʻǣngchīangmai-lamphūn. (in Thai) [Ancient communities in the Chiang Mai-Lamphun basin]. Bangkok: Amarin.

Ongsakun, S. (2018). Prawatsātlānnā (Phim khrang thī 12). (in Thai) [History of Lanna]. Bangkok: Amarin.

Ongsakun, Somchote, & Ongsakun, Suraswadee. (2005). Watnaithaksāmư̄ang. (in Thai) [Temple in Thaksa Astrology]. Chiang Mai: Pongsawatkānphim.

Ongsavangchai, N. 2014). Sathāpattayakammư̄ang. (in Thai) [Urban Architecture]. Chiang Mai: Faculty of Architecture, Chiang Mai University.

Singh, R. P. B., (1993). Cosmos, Theos, anthropos: An inner vision of sacred ecology in Hinduism. National Geographical Journal India, 39, 113-130.

Sodabunlu, T. (2003). Khatikānsāngmư̄angchīangmainaiwatthanathamlānnā. (in Thai) [The design of Chiang Mai city in Lanna culture] (Unpublished master’ thesis (History of Architecture)). Graduate School, Silpakorn University, Bangkok.

The British Library. (n.d.). Map of Chiengmai. Retrieved from www.bl.uk/onlinegallery/onlineex/maps/asia/5008356.html

Whitehand, J. W. R. (2001). British urban morphology: The Conzenian tradition. Volume 5(2): 103-109. Retrieved from www.urbanform.org/pdf/whitehand2001.pdf

Wichaikhatkha, T. (1986). Kamphǣngmư̄ang chīangmai. (in Thai) [The city wall of Chiang Mai]. Chiang Mai: Thipnaid.

Wichiankhieo, A., & Wyatt, D. K. (2004). Tamnānphư̄nmư̄angchīangmai (Phim khrang thī 2). (in Thai) [Chiang Mai native legend]. Chiang Mai: Silkworm Books.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-06

How to Cite

สัตย์ซื่อ ส., & อ่องแสวงชัย ณ. (2020). พัฒนาการของการจัดรูปที่ว่างและองค์ประกอบเมืองภายในเขตเมืองเก่าเชียงใหม่. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 19(2), 43–62. https://doi.org/10.14456/bei.2020.9