การสร้างสรรค์จากไฟ เซรามิคส์ และสถาปัตยกรรมในทฤษฎีของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐ์ ละเอียดอ่อน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ต้นข้าว ปาณินท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2023.12

คำสำคัญ:

กอตต์ฟรีด เซมเปอร์, ส่วนปิดล้อมทางสถาปัตยกรรม, ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม, สถาปัตยกรรมร่วมสมัย, ความหมายในทางสถาปัตยกรรม

บทคัดย่อ

ความสัมพันธ์ระหว่างไฟและสถาปัตยกรรมนั้นอาจเป็นไปในสองแนวทางอย่างกว้าง คือ ไฟในฐานะของ
การสร้างสรรค์ และ ไฟในฐานะของการทำลายล้าง ซึ่งประเด็นหลังนี้เราพบเห็นมาอย่างมากมายในในประวัติศาสตร์
อารยธรรมของมนุษย์ และด้วยสมมุติฐานของการศึกษานี้ที่เชื่อว่า ไฟนั้นเป็นบ่อเกิดในการสร้างงานของมนุษย์ไม่ว่า
จะเป็นสถาปัตยกรรมหรืองานฝีมืออื่น จึงทำให้บทความนี้มุ่งเน้นความสนใจไปยังประเด็นแรก คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ไฟและสถาปัตยกรรมในเชิงสร้างสรรค์


ไฟในเชิงทฤษฎีสถาปัตยกรรม เกิดขึ้นตั้งแต่ยุคคลาสสิค (Classics) จนกระทั่งยุคแห่งการตื่นรู้ (The
Enlightenment) โดยพบว่าแนวคิดเชิงสถาปัตยกรรมที่สำคัญของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์ (Gottfried Semper) ได้กล่าว
ว่าไฟเป็นจุดเริ่มต้นให้มนุษย์เริ่มสร้างงานฝีมือและสถาปัตยกรรม ดังนั้นจึงเกิดการศึกษาเริ่มต้นผ่านการทบทวน
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและงานเขียนของเซมเปอร์ เพื่อสร้างกรอบทางทฤษฎี และอภิปรายเพิ่มเติม จากนั้นจึงนำแนวคิด
ของเซมเปอร์นำมาใช้ร่วมกับการวิเคราะห์เปรียบกับสถาปัตยกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องสอดคล้องกับประเด็นเรื่องไฟ


การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า แนวคิดทางสถาปัตยกรรมของเซมเปอร์นั้นสามารถใช้ในการอธิบายงานสถาปัตยกรรม
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในประเด็นของ สัญลักษณ์ การแสดงออก และกระบวนการสร้างสรรค์รูปทรงที่เกี่ยวข้องกับ
ไฟ จากข้อสรุปเหล่านี้เปิดโอกาสในการนำไปใช้เพื่อสร้างความเข้าใจสถาปัตยกรรมที่หลากหลายมากขึ้นและส่งเสริม
แนวทางการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมได้มากขึ้นในอนาคต

References

ณัฏฐ์ ละเอียดอ่อน, & ต้นข้าว ปาณินท์. (2565). แนวคิดของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์ เกี่ยวกับสิ่งทอและส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรม. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 21, 3, 1-15. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/arch-kku/article/view/259706

ต้นข้าว ปาณินท์. (2561). ปฐมบท ทฤษฎีสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: ลายเส้น.

ฟื้น ดอกบัว. (2544). ปวงปรัชญากรีก (พิมพ์ครั้งที่ 2 ed.). กรุงเทพฯ: ศยาม.

Alberti, L. B. (1988). On the art of building in ten books (J. Rykwert, N. Leach, & R. Tavernor, Trans.). Cambridge, Mass: MIT Press.

Alberti, L. B. (2011). Leon Battista Alberti : On painting : a new translation and critical edition (R. Sinisgalli, Trans.). New York: Cambridge University Press.

Anderson, R., & Sternberg, M. (2020). Modern architecture and the sacred : religious legacies and spiritual renewal (First edition. ed.). London [England: Bloomsbury Visual Arts.

Ball, P. (2004). The Elements : a very short introduction. Oxford: Oxford University Press.

Fry, S. (2019). Mythos : the Greek myths reimagined. San Francisco, California: Chronicle Books LLC.

Hamer, F., & Hamer, J. (2004). The potter's dictionary of materials and techniques (Fifth edition. ed.). London: A & C Black.

Heidegger, M. (2001). Poetry, language, thought (1st Perennical Classics ed. ed.). New York: Perennical Classics.

Houze, R. (2006). The Textile as Structural Framework: Gottfried Semper's Bekleidungsprinzip and the Case of Vienna 1900. Textile: The Journal of Cloth & Culture, 4, 3, 292-311. doi:10.2752/147597506778691486

Koolhaas, R., Westcott, J., Petermann, S., Davis, B., Avermaete, T., Bego, R., & Shefelbine, A. (2018). Elements of architecture. Köln, Germany: Taschen GmbH.

Kruft, H. W. (1997). A History of architectural theory: From Vitruvius to the present (R. Taylor & E. C. A. Wood, Trans.). London: Princeton Architectural Press.

Radic, S., Márquez Cecilia, F., & Levene, R. C. (2013). Smiljan Radic, 2003-2013 : el juego de los contrarios = the game of opposites. Madrid, España: El Croquis Editorial.

Semper, G. (2004). Style: Style in the technical and tectonic arts; or, practical aesthetics (M. H. Francis & M. Robinson, Trans.). Los Angeles, CA: Getty Research Institute Publications Program. (Original work published 1860-1863)

Semper, G. (2010). The Four elements of architecture and other writings (H. F. Mallgrave & W. Herrmann, Trans.). Cambridge: Cambridge University Press. (1834-1869)

Turner, A. (2009). Ceramic Sculpture : Inspiring Techniques. Westerville, Ohio: American Ceramics Society.

Vitruvius, P. (1960). Vitruvius : the ten books on architecture (M. H. Morgan, Trans.). New York: Dover Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-27

How to Cite

ละเอียดอ่อน ณ., & ปาณินท์ ต. (2023). การสร้างสรรค์จากไฟ เซรามิคส์ และสถาปัตยกรรมในทฤษฎีของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 22(2), 69–86. https://doi.org/10.14456/bei.2023.12