อัตลักษณ์สถานที่ของสวนสุนัขแบบไม่ทางการ : กรณีศึกษาพื้นที่ว่างในกระทรวงสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี

ผู้แต่ง

  • เกดสุดา เมธีวิวัฒน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ณรงพล ไล่ประกอบทรัพย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • คัทลียา จิรประเสริฐกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์สถานที่ , สวนสุนัขแบบไม่ทางการ, พื้นที่ภาวการณ์หรือพื้นที่ที่เกิดขึ้นเอง, สังคมไร้บุตรหลาน

บทคัดย่อ

 จากข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติชี้ให้เห็นว่า สังคมไทยในปัจจุบันโครงสร้างของครัวเรือน “ไร้ลูกหลาน” มีอัตรา
การเติบโต (growth rate) ที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน เช่นเดียวกับตลาดสัตว์เลี้ยงที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง พบว่าการเลี้ยงสัตว์เป็น
ส่วนหนึ่งของการสร้างความเป็นครอบครัวในครัวเรือนไร้ลูกหลาน ซึ่ง “สุนัข” เป็นสัตว์เลี้ยงที่นิยมที่สุด สุนัขกลายเป็นส่วน
หนึ่งของครอบครัวเสมือนเป็นภาพตัวแทนบุตร สุนัขจึงถูกให้ความสำคัญ ใส่ใจในทุกรายละเอียด ทั้งสุขภาพอนามัยและชีวิต
ความเป็นอยู่ รวมถึงส่งเสริมให้ได้ออกกำลังกายปลดปล่อยพลังงานอย่างอิสระ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องการพื้นที่ พื้นที่นั้นต้อง
ส่งเสริมให้กิจกรรมดำเนินได้อย่างราบรื่น อย่างไรก็ตามพื้นที่สาธารณะในไทยปัจจุบันมักไม่ได้รองรับการใช้งานของกลุ่มคน
เลี้ยงสุนัขอย่างเพียงพอ ทำให้เกิดการใช้พื้นที่ลักษณะสวนสุนัขแบบไม่ทางการขึ้น ดังเช่นบริเวณพื้นที่ว่างในกระทรวง
สาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี ซึ่งกลายเป็นแหล่งพบปะของกลุ่มคนรักสุนัข การวิจัยพื้นที่ดังกล่าวพบว่าคุณลักษณะทางกายภาพ
กิจกรรมและความหมาย ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติส่งเสริมให้เกิดอัตลักษณ์ของพื้นที่ที่ไม่เป็นทางการ ที่สะท้อนให้เห็นถึง
คุณภาพของพื้นที่
งานวิจัยนี้มุ่งทำความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์สถานที่ของสวนสุนัขแบบไม่ทางการของกลุ่มคนรักสุนัข โดยใช้การ
วิเคราะห์แบบตีความ การวิจัยแสดงเห็นว่าคุณลักษณะทางกายภาพ กิจกรรมและความหมาย เป็นปัจจัยนำไปสู่ความเป็น
อัตลักษณ์สถานที่ของสวนสุนัขแบบไม่ทางการ สร้างความเข้าใจพื้นที่สำหรับกิจกรรมรูปแบบเฉพาะของกลุ่มคนรักสุนัข นำไปสู่
แนวทางในการออกแบบพื้นที่สาธารณะสำหรับสัตว์เลี้ยงที่สามารถตอบโจทย์การอยู่ร่วมกันในสังคม ทั้งนี้ ภาครัฐและเอกชน
สามารถใช้ข้อมูลนี้เพื่อวางแผนพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่เป็นมิตรกับสัตว์เลี้ยงอย่างเหมาะสมและยั่งยืนต่อไป

References

กาญจน์ นทีวุฒิกุล. (2557). พัฒนาการและประเภทพื้นที่ว่างสาธารณะ. ในสันต์ สุวัจฉราภินันท์. (บรรณาธิการ). ว่าด้วยทฤษฎีสถาปัตยกรรม: พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่.

ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ. (255)1. ซอยลัดประหยัดพลังงาน: พื้นที่วางสาธารณะขนาดเล็ก-พื้นที่ทางสังคม ของชุมชนไทย.

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง ประจำปี 2551 เรื่องเมืองประหยัด

พลังงาน. กรุงเทพมหานคร: คณะสถาปัตยกรรมศาสาตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาย โพธิสิตา. (2562). ศาสตร์และศิลปะการวิจัยเชิงคุณภาพ: คู่มือนักศึกษาและนักวิจัยสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8.

กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ทำเนียบ อุฬารกุล. (2562). สวนในบริบทขององค์กร : ความหมาย บทบาท และการแปรเปลี่ยน. วิทยานิพนธ์

ปริญญาปรัญญาดุษฏีบัณฑิต: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.พรพิมล แผ่นผา. (2559). การศึกษาแนวทางการ

สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในธุรกิจอาหารสุนัข. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัย บูรพา.

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2541). พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและ

วางแผน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2557). แนวคิดพื้นที่สาธารณะในมุมมองตะวันตกและตะวันออก. ใน สันต์ สุวัจฉ-

ราภินันท์. (บรรณาธิการ). ว่าด้วยทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม: พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ

เจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

สันต์ สุวัจฉราภินันท์. (2554). จากญาณวิทยาสู่กระบวนวิธีวิจัย: ศึกษาปรากฏการณ์วิทยาใน สถาปัตยกรรม (รายงาน

วิจัยฉบับสมบูรณ์). เชียงใหม่: สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ

วิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร: สามลดา. Canter, D. (1971). The psychology of place. Architectural Press.

Carmona, M., et al. (2008). Public space: The management dimension. Routledge.

Cantada, I. (2015, August). Why public space planning is vital to improve slums. World Economic

Forum. https://www.weforum.org/agenda/2015/08/why-public-space-planning-is-vital-to-

improve-slums/

Coleman, K. J., Rosenberg, D. E., Conway, T. L., Sallis, J. F., Saelens, B. E., Frank, L. D., & Cain, K. (2008).

Physical activity, weight status, and neighborhood characteristics of dog walkers. Preventive

Medicine, 47(3), 309–312. https://doi.org/10.1016/j.ypmed.2008. 05.002

Couclelis, H. (1992). Location, place, region, and space. University Press.

Cutt, H., Giles-Corti, B., Knuiman, M., & Burke, V. (2007). Dog ownership, health, and physical activity: A critical review of the literature. Health & Place, 13(1), 261–272. https://doi.org/

1016/j.healthplace.2006.03.002

De Certeau, M. (1984). The practice of everyday life. University of California Press.

Dog and Cat Management Board. (2013). Unleashed: A guide to successful dog parks. https://

cdn.dogandcatboard.com.au/dogandcatboard/docs/Dogs/UnleashedDogParks-B.pdf

Foucault, M. (1986). “Diacritics”. In P. Rabinow (Ed.), The Foucault reader (pp. 195–228). Pantheon

Books.

Gehl, J. (1987). Life between buildings. Van Nostrand Reinhold.

Gehl, J. (2007). Public spaces for a changing public life. Topos: European Landscape Magazine, 58,

–42.

Gehl, J. (2010). Cities for people. Island Press.

Giddens, A. (1995). The constitution of society: Outline of the theory of structuration. Polity Press.

Heidegger, M. (1962). Being and time: A translation of Sein und Zeit. Harper.

Lee, H.-S., Shepley, M., & Huang, C.-S. (2009). Evaluation of off-leash dog parks in Texas and Florida: A study of use patterns, user satisfaction, and perception. Landscape and Urban Planning, 92,

–324. https://doi.org/10.1016/j.landurbplan.2009.05.009

Lennard, S. H. (1995). Livable cities observed. Gondoler Press.

Lynch, K. (1960). The image of the city. MIT Press.

Mehrotra, R. (2003). Static spaces, kinetic places: Public space in the mega city of Bombay. In Cities and

Market Conference, IFHP World Congress (pp. xx–xx). Vienna.

Ohlone. (2010). About Ohlone dog park. Ohlone Dog Park. http://www.ohlonedogpark.org/

about.html

Oldenburg, R. (1989). The great good place: Cafés, coffee shops, community centers, beauty

parlors, general stores, bars, hangouts and how they get you through the day. Marlowe & Company.

Philo, C. (1998). Animals, geography, and the city: Notes on inclusions and exclusions. In J. Wolch &

J. Emel (Eds.), Animal geographies: Place, politics, and identity in the nature–culture borderlands. Verso.

Project for Public Spaces (PPS). (2013). What makes a successful place? Project for Public Spaces.

https://www.pps.org/article/grplacefeat

Proshansky, H. (1978). The self and the city. Environment and Behavior, 10(2), 147–169. https://

doi.org/10.1177/0013916578102001

Proshansky, H. M., Fabian, A. K., & Kaminoff, R. (1983). Place-identity: Physical world socialization of the

self. Journal of Environmental Psychology, 3(1), 57–83. https://doi.org/10.1016/

S0272-4944(83)80021-3

Punter, J. (1991). Participation in the design of urban space. Landscape Design, 200(1), 24–27.

Rapoport, A. (1982). Identity and environment: A cross-cultural perspective. In J. S. Duncan (Ed.),

Housing and identity: Cross-cultural perspectives (pp. xx–xx). Holmes and Meier.

Relph, E. (1976). Place and placelessness. Pion Limited.

Tarsitano, E. (2006). Interaction between the environment and animals in urban settings: Integrated and participatory planning. Environmental Management, 37(6), 799–809. https://doi.org/

1007/s00267-005-0277-3

Tuan, Y. (1990). Topophilia: A study of environmental perceptions, attitudes, and values.

Columbia University Press.

Whatmore, S., & Thorne, L. (1998). Wild(er)ness: Reconfiguring the geographies of wildlife.

Transactions of the Institute of British Geographers, 23, 435–454. https://doi.org/10.1111/

j.0020-2754.1998.00435.x

Whyte, W. (1990). The social life of small urban spaces. The Municipal Art Society of New York.

Wolch, J. (1995). Zoopolis. Capitalism, Nature, Socialism, 7(2), 21–47. https://doi.org/10.1080/

Wolch, J. (2002). Anima urbis. Progress in Human Geography, 26(6), 721–742. https://doi.org/

1191/0309132502ph411oa

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-03