ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่อง การตรวจน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองของผู้สูงอายุ
คำสำคัญ:
สื่อประชาสัมพันธ์, ผู้สูงอายุ, ระดับน้ำตาลในเลือด, ออกแบบบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เสมือนจริง เรื่องการตรวจน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุ 2)เพื่อประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุต่อสื่อประชาสัมพันธ์ที่พัฒนาใหม่ โดยมีกลุ่มประชากร คือ ผู้สูงอายุที่มีทะเบียนบ้านในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 4,161 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มีทะเบียนบ้านในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จำนวน 1,562 คน ใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Yamane) ที่ความเชื่อมั่น 98% โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified sampling) เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง ตามมาตรประเมินค่าลิเคอร์ท (Likert scale) 5 ระดับ เครื่องมือวิจัยมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (IOC=.673; Cronbach’s Alpha=.781) พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ใหม่ในระดับพึงพอใจมาก (Mean=4.029; S.D.=.674) และผู้สูงอายุมีความพึงพอใจแยกเป็นรายด้านประเมิน 3 อันดับแรก คือ 1)ช่วยสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสุขภาพในผู้สูงอายุ มีระดับพึงพอใจมากที่สุด (Mean=4.479; S.D.=.574) 2)ภาพประกอบสื่อประชาสัมพันธ์มีความสวยงาม มีระดับพึงพอใจมากที่สุด (Mean=4.426; S.D.=.606) 3)ช่วยส่งเสริมความรู้สึกที่ตนเองต้องดูแลสุขภาพ มีระดับพึงพอใจมากที่สุด (Mean=4.374; S.D.=.731) เป็นต้น เมื่อวิเคราะห์ EFA ปรากฏค่า KMO=.498 และค่า Bartlett’s Test ระดับ Sig.=.000 ซึ่งทั้ง 15 ตัวแปร มีความความสัมพันธ์กันเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของความพึงพอใจในผู้สูงอายุต่อสื่อประชาสัมพันธ์ใหม่ มีค่า Communalities = .603-.860 พบว่า ปัจจัยการสร้างสรรค์สื่อประชาสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของกลุ่มผู้สูงอายุมี 6 ปัจจัย คือ ปัจจัย 1 ความรู้สึกใส่ใจต่อสุขภาพผู้สูงอายุ, ปัจจัย 2 คุณภาพของสื่อประชาสัมพันธ์, ปัจจัย 3 การดูแลสุขภาพ, ปัจจัย 4 ความตระหนักรู้ในการตรวจเลือด, ปัจจัย 5 ความกลมกลืนของเนื้อหา และปัจจัย 6 การสร้างความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เป็นต้น
References
จารวี เลี้ยงสุขสันต์ และสมัย ลาประวัติ. (2567). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมทันตสุขภาพผู้สูงอายุแบบ
มีส่วนร่วมในหน่วยบริการปฐมภูมิ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิจัยและพัฒนาสุขภาพศรีสะ
เกษ, 3(1), 101-114.
ระภา ขำพิสุทธิ์ และปัทมา สุพรรณกุล. (2567). ปัจจัยพยากรณ์ความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองของข้าราชการ
ครูหลังเกษียณอายุราชการชมรมครูบำนาญอำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ
, 17(1), 267-280.
ชัยณรงค์ สีแหลก และนิยม จันทร์นวล. (2567). ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความเข้มแข็งในการมองโลกต่อความ
เข้มแข็งในการมองโลกและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัด
อุบลราชธานี. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(1), 248-257.
ทวีพร สุขสมโสตย์. (2567). ปจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพกับการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ
ในเขตพื้นที่หมู่ 1 ตำบลแพรกษา อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการศึกษาและวิจัยการ
สาธารณสุข, 2(2), 166-180.
นิตยา ยวงเดชกล้า และอภิญญา ตันเจริญ. (2567). ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาต่ออาการซึมเศร้า
ในผู้สูงอายุอำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 17(1), 155-167.
ปิยากร หวังมหาพร. (2567). โครงการระหว่างวัยด้านการศึกษาเพื่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุ
ไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 4(1), 1-12.
ปราโมทย์ จรัลกุล. (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยผู้สูงอายุไทย.
พจนา โพธิจันดี และทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา. (2565). การพัฒนาระบบบริการสุขภาพชุมชน: ด้านการส่งเสริมสุขภาพแม่
และเด็กในพื้นที่เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 15(1), 11-28.
พัตร์พิมล โต๊ะบุรินทร์. (2567). การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการป้องกันการหก
ล้มในผู้สูงอายุ ตำบลโนนสาราญ อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน,
(1), 748-758.
พุฒิพันธุ์ จุลคณานุกิจ. (2567). นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ. วารสารพุทธนวัตกรรมและ
การจัดการ, 7(2), 219-230
ภัทรพงษ์ ยิ่งดำนุ่น. (2567). ผลการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ
ผู้สูงอายุในเทศบาลพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา, 4(2), 43-57.
มนัญญา หนูแก้ว. (2567). อิทธิพลของปัจจัยปกป้องที่มีต่อภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่มารับการ
รักษาในโรงพยาบาลพระพรหม. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา, 4(2), 15-28.
ยุพยงค พาหา. (2567). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิจัยและ
พัฒนาสุขภาพศรีสะเกษ, 3(1), 1-15.
วาสนา บุณยมณี, กุลธิรัตน์ ใสสีสูบ และสุพิศ กุลชัย. (2567). อาสาสมัครบริบาลทองถิ่นกับการดูแลผู้สูงอายุภาวะ
พึ่งพิง. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 8(2), 273-284.
วิภาวี กฤษณะภูติ, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ดารารัตน์ คำภูแสน, อนันต์ คำอ่อน และเบญจวรรณ นัยนิตย์. (2567).
สถานการณ์ผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นในมิติประชากรศาสตร์และมิติสุขภาพ. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญา
พัฒน์, 6(1), 27-40.
วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, สิริพันธ์ สาสัตย์, พรทิพย์ มัลธรรม และจิณณสิตา ณรงค์ศักดิ์. (2557).
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุโดยไม่ต้องคำนึงถึงผู้อื่น. วารสารสภาการพยาบาล, 29(3),
-115.
สุวรรณี แสนสุข, จินตนา พลมีศักดิ์, นริศรา อารีรักษ์ และถนอม นามวงศ์. (2565). การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนสู่
ระบบบริการสุขภาพโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้สูงอายุจังหวัดยโสธร. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน,
(4), 195-204.
สร้อยศรี วรสาร. (2567). การพัฒนาการดูแลสุขภาพระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ตำบลนาคู อำเภอ
นาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์, 17(1),
-295.
Coto, M., Lizano, F., Mora, S., & Fuentes, J. (2017). Social media and elderly people: Research trends.
In G. Meiselwitz (Ed.), Social computing and social media. Applications and analytics. SCSM
Lecture Notes in Computer Science (Vol. 10283). Springer, Cham.
https://doi.org/10.1007/978-3-319-58562-8_6
Jakovljević, B. (2008). Health information system. In W. Kirch (Ed.), Encyclopedia of public health.
Springer, Dordrecht. https://doi.org/10.1007/978-1-4020-5614-7_1425
Egwutvongsa, S., & Tongmoon, N. (2023). After the spread of COVID-19: A study of board game design
factor for game-based learning. Journal of Higher Education Theory and Practice, 23(1), 124-
https://doi.org/10.33423/jhetp.v23i1.5795
Lin, S.-H., & Chou, W. H. (2013). Developing a social media system for the Taiwanese elderly by
participatory design. Bulletin of Japanese Society for the Science of Design, 60(3), 3_39-3_48.
https://doi.org/10.11247/jssdj.60.3_39
Haris, N., Majid, R. A., Abdullah, N., & Osman, R. (2014). The role of social media in supporting elderly
quality daily life. 3rd International Conference on User Science and Engineering (i-USEr), Shah
Alam, Malaysia, 253-257. https://doi.org/10.1109/IUSER.2014.7002712
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ