การศึกษากระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่ของเศษขยะขวดน้ำพลาสติกและ กระบวนการสร้างพื้นผิวโดยผสมผสานกับเศษวัสดุแห เชือก อวน และ ทุ่นโฟม
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษากระบวนการน�ากลับมาใช้ใหม่ของเศษขยะขวดน�้า พลาสติกและกระบวนการสร้างพื้นผิวโดยผสมผสานกับเศษวัสดุแห เชือก อวน และทุ่นโฟม วิธีการ วิจัย คือ แยกชนิดขวดน�้าพลาสติก PET และ HDPE ด้วยวิธีการท�ามือ และย่อยขนาดขวดน�้า พลาสติกให้เล็กด้วยวิธีการตัด ผลิตชิ้นพลาสติกในอัตราส่วน ร้อยละ 100 ด้วยวิธีการหลอมด้วย ความร้อนในเตาอบ เมื่อพลาสติกโดนความร้อนจะเกิดการละลายและยุบตัวจึงจ�าเป็นต้องเติม ปริมาณเศษพลาสติกที่ตัดเป็นชิ้นเล็กให้เต็มแม่แบบจนได้ขนาดตามแม่แบบ การผลิตชิ้นพลาสติก ผสมผสานกับเศษวัสดุแห เชือก อวน และทุ่นโฟมในอัตราส่วนการผสมเศษขวดน�้าพลาสติก ร้อยละ 90 และ เศษวัสดุอื่น ๆ ร้อยละ 10 ผลการศึกษากระบวนการสร้างพื้นผิวของเศษขยะขวดน�้าพลาสติก และการผสมผสานกับเศษวัสดุแห เชือก อวน และทุ่นโฟม พบว่า จุดหลอมเหลวพลาสติก HDPE ที่ 230 องศาเซลเซียส จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนโดยเผาไหม้และเปลี่ยนเป็นสีด�า ส่วน พลาสติกชนิด PET ที่ 293 องศาเซลเซียส จะเกิดการละลายกลายเป็นน�้า ส่วนเศษวัสดุแห เชือก อวน ที่น�ามาผสมมีลักษณะละลายเข้ากับเนื้อพลาสติกขวดน�้าด้วยความร้อนได้ดี แต่เกิดการเผา ไหม้เร็วกว่าพลาสติกโดยเฉลี่ยใช้ระยะเวลา 10 นาที จะเกิดการเผาไหม้เปลี่ยนสีเป็นสีน�้าตาลเข้ม และแข็งตัวคงรูป ซึ่งมีผลต่อลักษณะพื้นผิวของพลาสติกท�าให้ไม่เรียบ ขรุขระ ลักษณะพื้นผิวที่ได้ จากการหลอมของเศษวัสดุแห และอวน มีความใกล้เคียงกันสูง แตกต่างเพียงขนาดของเส้นแห และ อวน เศษวัสดุเชือกเมื่อถูกการหลอมละลายมีการหดตัวสูงมากเมื่อเทียบกับการหดตัวของเศษวัสดุ แห และอวน ลักษณะพื้นผิวที่ได้จะไม่เรียบ มีความขรุขระสูงกว่าเศษวัสดุแห และอวน เศษวัสดุทุ่น โฟมไม่สามารถยึดติดกับพลาสติก ลักษณะพื้นผิวที่ได้จึงเป็นเพียงแค่ร่องรอยของทุ่นโฟมบน พลาสติก การศึกษากระบวนการน�ากลับมาใช้ใหม่ของเศษขยะขวดน�้าพลาสติกและกระบวนการ สร้างพื้นผิวโดยผสมผสานกับเศษวัสดุแห เชือก อวน และทุ่นโฟม มีลักษณะพื้นผิววัสดุที่ใกล้เคียง กัน โดยเศษวัสดุแหและอวนให้พื้นผิวที่เรียบและการผสมผสานได้ดีที่สุ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศิลปกรรมบูรพา (Burapha Arts Journal) คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยบูรพา ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร