การออกแบบชุดเครื่องมือด�าเนินการวิจัยแบบคอลเจอรอล พรอพ เพื่อการวิจัยสถานที่ (กรณีศึกษา พื้นที่ย่านตลาดน้อย และถนนเจริญกรุง)

Main Article Content

Puvasa Ruangchewin

บทคัดย่อ

บทความนเี้ปน็การน�าเสนอการศกึ ษา ทดลอง และพฒั นาออกแบบเครอ่ื งมอื การวจิ ยั เชงิ คณุภาพในรปูแบบชดุเครอื่งมอืคอลเจอรอล พรอพ เพอ่ืการวจิยัสถานท ี่โดยมพีน้ืทยี่า่นตลาดนอ้ย และ ถนนเจรญิกรงุ กรงุเทพมหานคร เปน็พนื้ทตี่วัอยา่ง และการด�าเนนิการวจิยันเี้ปน็สว่นหนงึ่ของการวจิยัทนี่�า ไปสกู่ารวเิคราะห ์และสรปุผลขอ้มลูเชงิคณุภาพทจี่ะน�าไปใชใ้นการออกแบบภาษาภาพตอ่ไป จากการศกึษา ทดลอง และพฒันาชดุเครอื่งมอืคอลเจอรอล พรอพ เพอื่การวจิยัสถานทยี่า่น ตลาดนอ้ยและถนนเจรญิกรงุ กรงุเทพมหานคร พบวา่ คอลเจอรอล พรอพ เปน็วธิกีารด�าเนนิการวจิยัเชงิ คุณภาพ ที่มีข้อมูลเฉพาะเจาะจง แตกต่าง และแปลกใหม่ เมื่อทดลองและพัฒนาชุดเครื่องมือ คอลเจอรอล พรอพ และน�าไปใชส้�าหรบัการวจิยัสถานทขี่อ้มลูจะมคีวามหลายหลาก หากมกีารวางแผน และออกแบบชดุเครอื่งมอือยา่งละเอยีดรอบคอบ จะไดข้อ้มลูการวจิยัทเี่ปน็ประโยชนส์งู ในขณะเดยีวกนั หากชดุเครอื่งมอืยงัหละหลวม ขอ้มลูทไี่ดจ้ากการวจิยัจะสามารถน�ามาวเิคราะหไ์ดอ้ยา่งยากล�าบาก  ดงันนั้ในขนั้ตอนของการออกแบบชดุเครอื่งมอืด�าเนนิการวจิยัแบบคอลเจอรอล พรอพ เพอื่การ วจิยัสถานท ี่ชดุเครอื่งมอืจงึแบง่ออกเปน็ 3 ชว่ง คอื ชว่งกอ่นการด�าเนนิกจิกรรม ชว่งระหวา่งการด�าเนนิ กจิกรรม และชว่งหลงัการด�าเนนิกจิกรรม โดยกอ่นน�าชดุเครอื่งมอืไปใชจ้ะตอ้งมกีารวางแผนและก�าหนด จดุ ประสงคข์ องการวจิ ยั อยา่ งชดั เจน หลงั จากน�าชดุเครอื่งมอืจากกลมุ่ผเู้ขา้รว่มกจิกรรมทมี่ขีอ้มลูกลบัมา จะน�าขอ้มลูดงักลา่วมาวเิคราะหแ์ละสรปุผลอกีครงั้ เพอื่ใหไ้ดข้อ้มลูทนี่�าไปใชป้ระโยชนไ์ดต้อ่ไป
 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

BASEPlayhouse, D. T. by. (2017, February 12). DESIGN THINKING คืออะไร (OVERVIEW). Medium. https://medium.com Cultural Probe | Usability Body of Knowledge. Retrieved December 25, 2019, from https:// www.usabilitybok.org/cultural-probe Gaver, B., Dunne, T., & Pacenti, E. (1999). Design: Cultural probes. Interactions, 6(1), 21–29. https://doi.org/10.1145/291224.291235 ทิวัตถ์ มณีโชติ. (2554). เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย. http://www.rlc.nrct.go.th/ewt_dl. php?nid=1144