มังกรลายกนก : วิจัยสร้างสรรค์ศิลปะข้ามวัฒนธรรมต้าหลี่-สุโขทัย

Main Article Content

Liping Li
ภรดี พันธุภากร
เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์

บทคัดย่อ

ภูมิหลังของงานวิจัยนี้คือความสัมพันธ์ระหว่างจีน-ไทยและต้นกำเนิดทางประวัติศาสตร์ของต้าหลี่และสุโขทัย โดยศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมของต้าหลี่-สุโขทัย และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางศิลปะและวัฒนธรรมของทั้งสองพื้นที่ผ่านการวิจัยทางเอกสาร การวิจัยภาคสนาม และการรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งทำการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับศิลปะการตกแต่งสถาปัตยกรรม ศิลปะเครื่องเคลือบดินเผา จิตรกรรม สัมฤทธิ์ศิลป์ ศิลปะเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายของต้าหลี่และสุโขทัย จากนั้นสกัดองค์ประกอบทางศิลปะเพื่อวิเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานข้ามวัฒนธรรมชุด “มังกรลายกนก” ซึ่งมังกร (จีน) เทียบได้กับนาคหรือนาคา (ไทย)  และลายกนก (ไทย) เทียบได้กับ ลายประแจ (จีน) ทำให้ผลงานยังคงรักษาความลึกลับของวัฒนธรรมตะวันออกไว้ได้เป็นอย่างดี โดยใช้ลวดลายที่หลากหลายและองค์ประกอบเชิงสัญลักษณ์มาปรับให้เป็นภาษาทางศิลปะแบบข้ามวัฒนธรรม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

FangTie. (2003). The relationship between Nanzhao, Tubo and Tang Dynasty. Chinese Tibetology, 41.

Hays Jeffrey. (n.d.). SUKHOTHAI AND EARLY THAI KINGS. Retrieved 6 May 2020, https://factsanddetails.com/southeast-asia/Thailand/sub5_8a/entry-3185.html

SaimongMangrai Sao. (1969). The Shan States and the British Annexation. New York: Southeast Asia Program.

SilpaBhirasri. (1973). An Appreciation of Sukhothai Art. Bangkok: The Fine Arts Department .

Tong Enzhong. (1983). New archaeological discoveries in Southeast Asia in the past two decades and foreign scholars' research on the origin of ancient civilizations in southern China. Journal of Southwest University for Nationalities, 11.

Wang DaDao. (1991). The pottery of Yunnan bronze culture and its relationship with the pottery of Dongshan, Vietnam and Ban Thanh culture of Thailand. Southern Ethnoarchaeology, 17.

Wang Haiting. (2016). A review of the "Southern Silk Road" research in Yunnan academic circles in the past ten years. Journal of Yunnan Socialist University, 6.