ข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเลย

Main Article Content

พิมพ์อร สดเอี่ยม
ชิษณพงศ์ ศรจันทร์
ภัทราพร เกษสังข์
สมยงค์ สีขาว
ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย

บทคัดย่อ

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเลย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้เชี่ยวชาญจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยเสนอเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเลย ประกอบด้วย 6 ด้านได้แก่ 1) การมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมและเป้าหมายร่วมกัน 2) มีทีมร่วมมือที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ 3) การเสาะแสวงหาสิ่งใหม่ๆ  4) การลงมือปฏิบัติและทดลอง 5) ใช้การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 6) มุ่งที่ผลลัพธ์

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรองทิพย์ นาควิเชตร. (2560). ชุมชนแห่งการเรียนรู้ : คนอุดมศึกษาสุจริตคิดชอบ. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 23(2), 1-13.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). การจัดการเครือข่าย: กลยุทธ์สำคัญสู่ความสำเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.

จุลลี่ ศรีษะโคตร และวัลภา อารีรัตน์. (2558). บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(1), 26-36.

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560). ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและแนวทางการนำมาใช้ในสถานศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 10(1), 34-41.

บุญชู บุญลิขิตศิริ. (2553). การพัฒนากระบวนการสร้างความรู้ในชุมชนการเรียนรู้เชิงเสมือน สำหรับนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2556). คู่มือการจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อสร้าง “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตย

(เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ “เทคนิคการจัดการเรียนการสอนความเป็นพลเมืองสู่การปฏิบัติ”). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

วทัญญู ภูครองนา. (2558). ตัวแปรที่ส่งผลต่อความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

วรากร หงส์โต. (2553). การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ออนไลน์โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้เพื่อการสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สนอง โลหิตวิเศษ. (2558). สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในโอกาสพระชนมายุ 60 พรรษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). คู่มือการอบรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC Professional learning Community. “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” สู่สถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุชาดา น้ำใจดี. (2552). กระบวนการพัฒนาไปสู่ชุมชนการเรียนรู้ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต).สาขาพัฒนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2557). บัณฑิตศึกษาไม่ใช่โรงเรียนมัธยมชั้นสูงโครงการปาถกฐาราชบัณฑิตสัญจร เรื่อง “การประเมินผลการเรียนรู้ ระดับบัณฑิตศึกษา”. การฟังบรรยายวันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องประชุมสุวัจน์ลิปตพัลลภ 2 อาคารยุพราชเบญจมงคล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

อาชัญญา รัตนอุบล และคณะ. (2559). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายวิชาชีพทางการศึกษา เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Dufour, R. & Eaker, R. (1998). Professional learning communities at work: Best practices for enhancing student achievement. Alexandria, VA: Association for Supervision and Curriculum Development.

DuFour, R., (2016). Learning by Doing : A Handbook for Professional Learning Communities at work. U.S.A.: Solution Tree Press.

Senge, P.M. (1994). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization. New York: Currency/Doubleday.