ผลลัพธ์ของหลักสูตรอุตสาหกรรมศึกษา: ผ่านมุมมองของบัณฑิต
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของหลักสูตรสาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา โดยพิจารณาจากสมรรถนะของบัณฑิตและความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย คือ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2557-2560 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินสมรรถนะของบัณฑิตและความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
- บัณฑิตมีสมรรถนะเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ครอบคลุมตามผลการเรียนรู้ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรมจริยธรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก
- บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อคุณภาพของหลักสูตรในภาพรวม โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
หากผู้เสนอบทความมีความจำเป็นเร่งด่วนในการตีพิมพ์โปรดส่งลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นแทน โดยกองบรรณาธิการจะไม่รับบทความหากผู้เสนอบทความไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขและขั้นตอนที่กำหนดอย่างเคร่งครัด ข้อมูลของเนื้อหาในบทความถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Journal of Inclusive and Innovative Education คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
References
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.
ราชกิจจานุเบกษา. (2558). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/criterion58/criterion_b58.PDF
สมเกียรติ อินทสิงห์, ปทุมวดี ศิริสวัสดิ์, บุญรอด โชติวชิรา, สิระ สมนาม, ดวงหทัยรัฐ กาญจนรัชตพงศ์ และพิชญภณ ศรีนวล. (2561). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตรและเจตคติต่อวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 33(1), 33-40.
สมเกียรติ อินทสิงห์, ประไพลิน จันทน์หอม, เดือนวิสาข์ ชลศิริ, กิตติวัฒน์ ขวัญเรืองอริยะ, จารี สุขบุญสังข์, กิตติ ไชยพาน และ คณิเทพ ปิตุภูมินาค. (2561). คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2561, วันที่ 12 ธันวาคม 2561 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่, หน้า 249-260.
สมเกียรติ อินทสิงห์, สุนทรี คนเที่ยง, นิธิดา อดิภัทรนันท์, พงษ์ศักดิ์ แป้นแก้ว, นทัต อัศภาภรณ์, ศักดา สวาทะนันทน์ และ นงลักษณ์ เขียนงาม. (2560). การวิพากษ์กระบวนวิชาในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร การสอน และเทคโนโลยีการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามกรอบ 3 คุณ. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 32(1), 36-46.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2560). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
Boyle, B., & Charles, M. (2016). Curriculum Development. London: SAGE Publication Ltd.
Mercer, S., & Gkonou, C. (2017). Teaching with Heart and Soul. In T. S. Gregersen, & P. D. Maclntyre (Eds.). Innovative Practices in Language Teacher Education: Spanning the Spectrum from Intra to Inter-Personal Professional Development (pp. 103-124). Switzerland: Springer.
Ornstein, A. C., & Hunkins, F. P. (2018). Curriculum Foundations, Principles and Issues. 7th ed. New Jersey: Englewood Cliffs.
Oliva, P. F., & Gordon II, W. R. (2013). Developing the Curriculum. 8th ed. Singapore: Pearson Education South Asia Pte Ltd.
Stake, R. E. (2010). Qualitative research : studying how things work. New York, NY : The Guilford Press.
Stake, R. E. (n.d.). The Coutenance of educational evaluation. Retrieved November 17, 2016. From https://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.543.5561&rep=rep1&type=pdf
ราชกิจจานุเบกษา. (2558). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/criterion58/criterion_b58.PDF
สมเกียรติ อินทสิงห์, ปทุมวดี ศิริสวัสดิ์, บุญรอด โชติวชิรา, สิระ สมนาม, ดวงหทัยรัฐ กาญจนรัชตพงศ์ และพิชญภณ ศรีนวล. (2561). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตรและเจตคติต่อวิชาชีพครูของนักศึกษาวิชาชีพครู สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 33(1), 33-40.
สมเกียรติ อินทสิงห์, ประไพลิน จันทน์หอม, เดือนวิสาข์ ชลศิริ, กิตติวัฒน์ ขวัญเรืองอริยะ, จารี สุขบุญสังข์, กิตติ ไชยพาน และ คณิเทพ ปิตุภูมินาค. (2561). คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและความพึงพอใจที่มีต่อคุณภาพของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี 2561, วันที่ 12 ธันวาคม 2561 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่, หน้า 249-260.
สมเกียรติ อินทสิงห์, สุนทรี คนเที่ยง, นิธิดา อดิภัทรนันท์, พงษ์ศักดิ์ แป้นแก้ว, นทัต อัศภาภรณ์, ศักดา สวาทะนันทน์ และ นงลักษณ์ เขียนงาม. (2560). การวิพากษ์กระบวนวิชาในหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร การสอน และเทคโนโลยีการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามกรอบ 3 คุณ. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 32(1), 36-46.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2560). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
Boyle, B., & Charles, M. (2016). Curriculum Development. London: SAGE Publication Ltd.
Mercer, S., & Gkonou, C. (2017). Teaching with Heart and Soul. In T. S. Gregersen, & P. D. Maclntyre (Eds.). Innovative Practices in Language Teacher Education: Spanning the Spectrum from Intra to Inter-Personal Professional Development (pp. 103-124). Switzerland: Springer.
Ornstein, A. C., & Hunkins, F. P. (2018). Curriculum Foundations, Principles and Issues. 7th ed. New Jersey: Englewood Cliffs.
Oliva, P. F., & Gordon II, W. R. (2013). Developing the Curriculum. 8th ed. Singapore: Pearson Education South Asia Pte Ltd.
Stake, R. E. (2010). Qualitative research : studying how things work. New York, NY : The Guilford Press.
Stake, R. E. (n.d.). The Coutenance of educational evaluation. Retrieved November 17, 2016. From https://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.543.5561&rep=rep1&type=pdf