แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1

Main Article Content

ศรสวรรค์ พานซ้าย
จิติมา วรรณศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ประกอบด้วย 5 ด้าน 18 วิธี ดังนี้ ด้านความใฝ่เรียนรู้ 4 วิธี ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ 4 วิธี ด้านการนำการเปลี่ยนแปลง 4 วิธี ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ 4 วิธี ด้านการพัฒนานวัตกรรม 2 วิธี 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกอร สมปราชญ์. (2560). ภาวะผู้นำและภาวะผู้นำการเรียนรู้สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กานต์สุดา มาฆะศิรานนท์. (2557). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เปอร์เน็ท.

จินดารัตน์ แย้มวงษ์. (2560). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดการพัฒนานักเรียนให้มีภาวะผู้นำแบบโลกาภิวัตน์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิรวัฒน์ วงษ์คง. (2560). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นําการเรียนรู้ของผู้บริหาร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(2), 48-58.

ณัฏฐนิช สิริสัจจานุรักษ์. (2558). ภาวะผู้นำองค์กรแห่งการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์การสำรวจความคิดเห็น (poll) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางสังคมประชาธิปไตยไทยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 11(1), 163-180.

ธีระ รุญเจริญ. (2557). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

เธียรพัฒน์ ชุปวา. (2559). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นฤมล จิตรเอื้อ. (2560). บทบาทภาวะผู้นำในการพัฒนาองค์การสู่องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 1738-1754.

พระมหาอุดร อุตฺตโร. (2561). ภาวะผู้นำ: การบริหารวิชาการสู่การศึกษายุค 4.0. วารสารปัญญาปณิธาน, 3(1), 50.

ไพฑรูย์ สินลารัตน์, และคณะ. (2554). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ: กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นำใหม่ทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทร์ธมณฑน์ เรืองวิทยาวุฒิ. (2559). คุณลักษณะความเป็นผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 6(1), 129-135.

ภูมิพิพัฒน์ รักพรมงคล. (2558). แนวทางพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาสถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 4(1), 143-160.

ยุรพร ศุทธรัตน์. (2553). องค์การเพื่อการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

สมชาย เทพแสง. (2560). กลยุทธ์ในการสร้างแรงบันดาลใจของผู้นำร่วมสมัย. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 14(27), 165-172.

สมบัติ นามบุรี. (2562). นวัตกรรมและการบริหารจัดการ. วารสารวิจัยวิชาการ, 2(2), 121-134.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานการศึกษาไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2561). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นําแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(2), 169-182.

สุพิชชา ภู่กันงาม. (2560). การวิเคราะห์แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา จังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(1), 1467-1476.

อภิชัย พันธเสน, และคณะ. (2558). การสังเคราะห์งานวิจัยว่าด้วยปัญหาและข้อเสนอแนะในกระบวนการจัดการศึกษาไทย:ประเด็นปัญหาคุณภาพการศึกษา (2535-2558). เข้าถึงจาก http://www.knowledgefarm.in.th/quality- education-apichai/

อภิชา ธานีรัตน์. (2558). ภาวะผู้นํากับการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 8(1), 59-71.

Antonacopoulou, E and Bento, R. (2003). Methods of Learning Leadership Taught And Experiential. Graduate Research, University of Manchester.

Bass,B. M., & Avolio,B. J. (1990).Theimplications of transactionaland Transformational leadership for individual, team, and organizationaldevelopment. In R. W. Woodman & W. A. Pasmore (Eds.), Research in organizationalchange and development, (4), 231-272. Greenwich, CT: JAI Press.

DuBrin, A.J. (2002). Leadership: Research findings, practice and Skills (4th ed.). Boston, MA: Houghton Miffin.

Halbert, J. and Kaser, L. (2013). Innovative learning environment: Developing Leadership in British Columbia in Leadership for 21st Century Learning: OECD.

Kohlreiser, G. (2013). Learning Leadership. Switzerland: IMD Real World Real Learning.

Salavert, R. (2013). Approaches to learning leadership development in different School system. In Leadership for 21st Century Learning: OECD.

Tubin, D. (2013). Learning leadership for innovation at the system level: Israel. in Leadership for 21st Century Learning. OECD.