การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุกในการเรียนวิทยาศาสตร์

Main Article Content

บรรณรักษ์ คุ้มรักษา

บทคัดย่อ

การเรียนรู้เชิงรุกเป็นการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่ผู้เรียนจะได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในชั้นเรียนอย่างเต็มที่ การใช้กระบวนจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐาน (Research-Based Learning: RBL) ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นการวิธีการเรียนรู้เชิงรุกอีกรูปแบบหนึ่งที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะทางปัญญาจากการลงมือทำกิจกรรมแบบสืบเสาะโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือในการสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเอง  ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ RBL นี้จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะการคิดขั้นสูง เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดสังเคราะห์ การประเมินข้อมูล ทักษะการเผชิญสถานการณ์ และทักษะการจัดการสถานการณ์จริง ในบทความนี้จะเป็นการนำเสนอที่มา การสังเคราะห์แนวคิดและทฤษฎี และตัวอย่างของแนวทางในการนำวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ RBL ไปใช้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้สอนวิทยาศาสตร์ได้พิจารณาและเห็นภาพในเชิงปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม แนวคิดและข้อเสนอที่นำเสนอในบทความนี้ยังเป็นเพียงตัวอย่างเบื้องต้น ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปปรับหรือประยุกต์ใช้ตามสภาพการณ์ของชั้นเรียนและบริบทโรงเรียนของตนได้โดยมิได้จำกัดว่าต้องปฏิบัติตามตัวอย่างที่นำเสนอในบทความนี้เสมอไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

บรรณรักษ์ คุ้มรักษา, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

  • Bachelor of Science (Chemistry), Department of Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University (2005-2008)
  • Master of Science (Chemistry), Department of Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University (2009-20011)
  • Doctor of Philosophy (Chemistry), Department of Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University (2012-2015)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กาญจนา มหาลี และชาตรี ฝ่ายคำตา. (2553). ความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.

วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 16(5), 795-809.

ทิศนา แขมมณี. (2548). การจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้. กรุงเทพมหานครฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาการศึกษา สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา.

ธิติยา บงกชเพชร และ วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2553). ความรู้/ความเชื่อเกี่ยวกับการสอนดาราศาสตร์ที่เน้นกระบวนการ

สืบเสาะหาความรู้ของครูวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29(3), 85-97.

บรรณรักษ์ คุ้มรักษา และ ปริศนา รักบำรุง. (2563). ผลของการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยวิจัยเป็นฐานเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(1), 127-144.

บรรณรักษ์ คุ้มรักษา และเพชรลัดดา รักษากิจ. (2562). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน เรื่อง สมบัติของดิน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 14-29.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2560). สอนเด็กทำโครงงาน สอนอาจารย์ทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

รุจิราพร รามศิริ และ มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน เพื่อ

เสริมสร้างทักษะการวิจัย ทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 7(1), 110-122.

ลัดดา ภู่เกียรติ. (2552). การสอนแบบโครงงานและการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน: งานที่ครูประถมทำได้. กรุงเทพฯ: บริษัทสาฮะแอนด์ซันพริ้นติ้ง จำกัด.

ลือชา ลดาชาติ. (2561). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เป็นวิทยาศาสตร์: ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และการศึกษา. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2559). ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ของนิสิตครู

วิชาเอกชีววิทยา. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2(1), 24-44.

สสวท. (2560ก.). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: สสวท.

สสวท. (2560ข.). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: สสวท.

สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2555). โครงงานฐานวิจัย: กระบวนการเรียนรู้ใหม่ของการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Abd-El-Khalick, F., BouJaoude, S., Duschl, R., Lederman, N. G., Mamlok-Naaman, R., Hofstein, A. et al.,(2004). Inquiry in science education: International perspectives. Science Education, 88(3), 397-419.

Abhyankar, K., & Ganapathy, S. (2013). Ethnographic research based education model development. International Journal of Information and Education Technology, 3(1), 113-116.

Alvunger, D., & Wahlström, N. (2018). Research-based teacher education? Exploring the meaning potentials of Swedish teacher education. Teachers and Teaching, 24(4), 332-349.

Auchincloss, L. C., Laursen, S. L., Branchaw, J. L., Eagan, K., Graham, M., Hanauer, D. I., & et al. (2014).

Assessment of course-based undergraduate research experiences: A meeting report. CBE—Life Sciences Education, 13(1), 29-40.

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active learning: Creating excitement in the classroom. Washington,DC: The George Washington University, School of Education and Human Development.

Bonwell, C. C., & Sutherland, T. E. (1996). The active learning continuum: Choosing activities to engagestudents in the classroom. New Directions for Teaching and Learning, Fall(67), 3-16.

Bot, L., Gossiaux, P.-B., Rauch, C.-P., & Tabiou, S. (2005). ‘Learning by doing’: A teaching method foractive learning in scientific graduate education. European Journal of Engineering Education, 30(1), 105-119.

Brew, A., & Saunders, C. (2020). Making sense of research-based learning in teacher education. Teaching and Teacher Education, 87, 1-11.

Bybee, R. W., Taylor, J. A., Gardne, A., Scotter, P. V., Powell, J. C., Westbrook, A., & et al. (2006). The BSCS5E instructional model: Origin and effectiveness. Colorado Spring: BSCS.

Chonkaew, P., Sukhummek, B., & Faikhamta, C. (2019). STEM activities in determining stoichiometric moleratios for secondary-school chemistry teaching. Journal of Chemical Education, 96(6), 1182-1186.

Clement, J. (2000). Model based learning as a key research area for science education. InternationalJournal of Science Education, 22(9), 1041-1053.

Crimmins, M. T., & Midkiff, B. (2017). High structure active learning pedagogy for the teaching of organic chemistry: Assessing the impact on academic outcomes. Journal of Chemical Education, 94(4), 429-438.

Dewey, J. (1986). Experience and education. The Educational Forum, 50(3), 241-252.

Etherington, M. B. (2011). Investigative primary science: A problem-based learning approach. Australian Journal of Teacher Education, 36(9), 53-74.

Freeman, S., Eddy, S. L., McDonough, M., Smith, M. K., Okoroafor, N., Jordt, H., & Wenderoth, M. P. (2014). Active learning increases student performance in science, engineering, and mathematics. Proceedings of the National Academy of Sciences, 111(23), 8410-8415.

García-Carmona, A. (2020). From Inquiry-Based Science Education to the Approach Based on Scientific Practices. Science & Education, 29(2), 443-463.

Haak, D. C., HilleRisLambers, J., Pitre, E., & Freeman, S. (2011). Increased structure and active learningreduce the achievement gap in introductory biology. Science, 332(6034), 1213-1216.

Kim, K., Sharma, P., Land, S. M., & Furlong, K. P. (2013). Effects of active learning on enhancing student critical thinking in an undergraduate general science course. Innovative Higher Education, 38(3), 223-235.

Kloser, M. J., Brownell, S. E., Shavelson, R. J., & Fukami, T. (2013). Effects of a research-based ecology lab course: A study of nonvolunteer achievement, self-confidence, and perception of lab course purpose. Journal of College Science Teaching, 42(3), 72-81.

Kowalski, J. R., Hoops, G. C., & Johnson, R. J. (2016). Implementation of a collaborative series of classroom-based undergraduate research experiences spanning chemical biology, biochemistry, and neurobiology. CBE—Life Science Education, 15(4), 1-17.

Laugksch, R. C. (2000). Scientific literacy: A conceptual overview. Science Education, 84(1), 71-94.

Leedy, P. D., & Ormrod, J. E. (2015). Practical research: Planning and design. Harlow: Pearson Education.

McKeachie, W. J., Pintrich, P. R., Lin, Y.-G., & Smith, D. A. F. (1986). Teaching and learning in the collegeclassroom: A review of the research literature. Ann Arbor: Michigan National Center for Research to Improve Postsecondary Teaching and Learning, University of Michigan.

Moeed, A. (2013). Science Investigation That best supports student learning: Teachers' understanding ofscience investigation. International Journal of Environmental and Science Education, 8(4), 537-559.

National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. Washington, DC: National Academies Press.

Niemi, H., & Nevgi, A. (2014). Research studies and active learning promoting professional competences in Finnish teacher education. Teaching and Teacher Education, 43, 131-142.

Noguez, J., & Neri, L. (2019). Research-based learning: A case study for engineering students. International

Journal on Interactive Design and Manufacturing, 13(4), 1283-1295.

OECD. (2019). PISA 2018 results (volume III). Paris: OECD Publishing.

Tomasik, J. H., Cottone, K. E., Heethuis, M. T., & Mueller, A. (2013). Development and preliminary impacts of the implementation of an authentic research-based experiment in general chemistry. Journal of Chemical Education, 90, 1155–1161.

Tomasik, J. H., LeCaptain, D., Murphy, S., Martin, M., Knight, R. M., Harke, M. A., & et al. (2014). Island explorations: Discovering effects of environmental research-based lab activities on analytical chemistry students. Journal of Chemical Education, 91, 1887–1894.

Toolin, R. E. (2004). Striking a balance between innovation and standards: A study of teachers implementing project-based approaches to teaching science. Journal of Science Education and Technology, 13(2), 179-187.

Wilke, R. R., & Straits, W. J. (2005). Practical advice for teaching inquiry-based science process skills inthe biological science. The American Biology Teacher, 67(9), 534-540.

Willison, J., & O’Regan, K. (2007). Commonly known, commonly not known, totally unknown: A framework for students becoming researchers. Higher Education Research & Development, 26(4), 393-409.

Winkelmann, K., Baloga, M., Marcinkowski, T., Giannoulis, C., Anquandah, G., & Cohen, P. (2015). Improvingstudents’ inquiry skills and self-efficacy through research-inspired modules in the general chemistry laboratory. Journal of Chemical Education, 92, 247–255.