การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (1)
Main Article Content
บทคัดย่อ
นิกายสรวาสติวาทเป็นหนึ่งใน 18 นิกายแห่งยุคแตกนิกายของพระพุทธศาสนาในสมัยอินเดียโบราณ หากพิจารณาความหมายของชื่อนิกาย เป็นการชี้ให้เห็นว่า นิกายสรวาสติวาทยอมรับการมีอยู่จริงของ สรรพสิ่ง ทั้ง ๆ ที่พระพุทธศาสนาปฏิเสธในประเด็นนี้ ก่อให้เกิดเป็นข้อสงสัยที่คล้ายเป็นคำถามพื้น ๆ ธรรมดาทั่วไปว่า “สรวาสติ” เป็นชื่อที่มีมาตั้งแต่แรกหรือไม่ เนื่องจาก นิกายสรวาสติวาท มีชื่อเรียกอื่นอีก ได้แก่ เหตุวาท 一切語言部 วิภัชยวาทิน ตามที่ได้บันทึกไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ
คำว่า “สัพพัตถวาท” ก็เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่ง ที่คาดว่า เป็นชื่อเรียกที่มีมาก่อนแนวคิดเรื่อง ‘สรรพสิ่งมีอยู่จริง’ จะได้รับการจัดเรียบเรียงให้เป็นระบบจนเป็นแบบแผนขึ้นมา หลังจากนั้น จึงมีชื่อว่า สัพพัตถิวาท หรือ สรวาสติวาท ในกาลต่อมาหรือไม่ นี้เป็นข้อสมมติฐานที่จะทำการหาคำตอบในบทความ
Article Details
ลิขสิทธิ์ สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
References
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ก. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1)." วารสารธรรมธารา 2 (1): 67-103. กรุงเทพ: สุขุมวิทการพิมพ์ จำกัด.
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ข. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2)." วารสารธรรมธารา 2 (2):57-106. กรุงเทพ: สุขุมวิทการพิมพ์ จำกัด.
Akanuma, Chizen (赤沼智善). 1925. "Bunbetsu-ronsha-ni-tsuite 分別論者に就いて(ศึกษาเกี่ยวกับวิภัชยวาทิน)." Shūkyō-kenkyū 宗教研究 25: 43-64
Chou, Jouhan (周 柔含). 2006. “Hiyusha-nitsuite-no-ichi-kōsatsu 「譬喩者」についての一考察 (An Investigation of the Dārṣṭānatika).” Indogaku-bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 110: 118-122(L).
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1992. “Sautrāntika.” Indogaku-Bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究40(2): 148-154(L).
Kato, Junshō (加藤純章). 1989. Kyōryōbu-no-kenkyū 経量部の研究 (งานวิจัยนิกายเสา-ตรานติกะ). Tokyo: shunjūsha.
Kimura, Taiken (木村泰賢). 1968. Abidatsumaron-no-kenkyū: Kimura -Taiken-zenshū 4 阿毘達磨論の研究・ 木村泰賢全集 4 (งานวิจัยพระอภิธรรม - รวมผลงานเขียนของ คิมูระ ไทเคน ลำดับที่ 4). Tokyo: Daihorin-Kaku.
Mitomo, Kenyō (三友健容). 1997. "Goji-hihō-to-ubu-no-seiritsu五事非法と有部の成立 (วัตถุ 5 ประการที่เป็นอธรรม และกำเนิดสรวาสติวาท)." Nijiren-kyōgaku-no-shomondai : Asai-Endō-sensei-koki-kinen-ronnbunnshū 日蓮教学の諸問題:浅井円道先生古稀記念論文集: 935-967(R). Kyoto: Heirakushoten.
Przyluski, Jean. 1940. “Dārṣṭāntika, Sautrāntika and Sarvāstivādin.” Indian Historical Quarterly 16: 246-254.
Sasaki, Shizuka(佐々木 閑). 2007. Basharon-shohon-no-sougo-kankei 婆沙論諸本の相互関係 (ความสัมพันธ์ของคัมภีร์วิภาษาศาสตร์ต่างสำนวน) Indogaku-Bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 56 (1) : 167-173 (L).
Satō, Mitsu'o(佐藤密雄). 1991. Ronji-fu-kaku'on-chū 論事付覚音註 (คำแปลคัมภีร์อภิธรรมกถาวัตถุและกถาวัตถุอรรถกถา). 2nd ed.Tokyo: Sankibōbusshorin.
Shizutani, Masa'o (静谷正雄). 1978. Shōjō-bukkyōshi-no-kenkyū: buha-bukkyō-no-seiritsu-to-hensen 小乗仏教史の研究ー部派仏教の成立と変遷ー (งานวิจัยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหินยาน: กำเนิดและพัฒนาการพุทธศาสนายุคแตกนิกาย) Kyoto: Hyakka'enkan
Teramoto, Enga, and Tomotsugu Hiramatsu (寺本婉雅, 平松友嗣). 1974. Zō-kan-wa-sanyaku-taikō: Ibushūrinron 藏漢和三譯對校: 異部宗輪論 (คำแปลเปรียบเทียบสามภาษา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น : คัมภีร์สมยเภโทปรจนจักร). Tokyo: Koku- shokankōkai.
Tsukamoto, Keishō (塚本啓祥). 1980. Shoki-bukkyō-kyōdan-no-kenkyū 初期仏教教団史の研究 -部派の形成に関する文化史的考察 (A History of the Early Buddhist order: A Historical Study on the Formation of the Indian Buddhist Schools). 2nd ed. Tokyo: Sankibōbusshorin.
Willemen, Charles, Bart Dessein and Collett Cox. 1998. Sarvāstivāda Buddhist Scholasticism. Handbuch der Orientalistik, zweite Abteilung: Indien, elfter Band. Leiden: Brill.