วิธีเขียนแผนภาพการแตก 18 นิกาย

Main Article Content

Sasaki shizuka

บทคัดย่อ

บทความนี้จะตรวจสอบเนื้อหาเกี่ยวกับการแตกนิกายในคัมภีร์ ทีปวังสะ และทำให้เกิดความกระจ่างชัดว่าในคัมภีร์ทีปวังสะ ไม่มีแนวคิดการแตกนิกายตามแผนภาพอย่างที่ใช้กันมาทั่วโลก ซึ่งการสร้างแผนภาพการแตกนิกายอย่างง่าย ๆ ของนักวิชาการในยุคแรก ๆ ซึ่งไม่ตรงจริง ทำให้เกิดความเข้าใจผิดทางประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาจวบจนกระทั่งปัจจุบัน จึงขอเสนอวิธีเขียนแผนภาพการแตก 18 นิกาย ตามนัยของคัมภีร์ ทีปวังสะที่ถูกต้อง

Article Details

How to Cite
shizuka, Sasaki. 2018. “วิธีเขียนแผนภาพการแตก 18 นิกาย”. ธรรมธารา 3 (1):127-63. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160771.
บท
บทความแปลจากภาษาต่างประเทศ
Bookmark and Share

References

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ (ภิกษุณีธัมมนันทา), แปล. 2553. คัมภีร์ทีปวงศ์. นครปฐม: มูลนิธิพุทธสาวิกา.(แปลจากภาษาอังกฤษสำนวนของ เฮอร์มานน์ โอลเดนเบิร์ก ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 3, Oldenberg, Hermann. 2001. The Dipavamsa: An Ancient Buddhist Historical Record. 3rd ed. New Delhi: Asian Educational Services.)

บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์. 2558. "เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร." วารสารธรรมธารา 1: 55-95. กรุงเทพ: สุขุมวิท-การพิมพ์ จำกัด.

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ก. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1)." วารสารธรรมธารา 2(1): 67-103. กรุงเทพ: สุขุมวิทการพิมพ์ จำกัด.

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ข. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2)." วารสารธรรมธารา 2(2): 57-106. กรุงเทพ: สุขุมวิทการพิมพ์ จำกัด.

อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. 2551 . พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Aung, Shwe Zan, Caroline Anne Foley, Rhys Davids, trans. 1915. Points of controversy, or subjects of discourse, being a translation of the Kathā-vatthu from the Abhidhamma-piṭaka. London: PTS.

Bareau, André. 1955. Les sectes bouddhiques du petit vehicule. Saigon: Ecole Francaise d'Extreme-Orient

Hirakawa, Akira (平川彰). 1974. Indo-bukkyō-shi jō インド仏教史 上 (ประวัติศาตร์พระพุทธศาสนาอินเดีย เล่มแรก) Tokyo: Shunjūsha

Kimura, Taiken,and Ryūshō, Hikata (木村泰賢, 干潟龍祥). 1921. "Ketsujū-shi-bunpa-shi-kō 結集史分派史考." Kokuyaku-daizōkyō Ronbu 国訳大 蔵経 - 論部13: 1-51. Tokyo: Kokumin-bunko.

Lamotte, Étienne. 1958. Histoire du Bouddhisme Indien: Des Origines à l'Ère Śaka. Louvain: Institut Orientaliste

Lamotte, Étienne. 1988. History of Indian Buddhism. translated by Sara Boin-Webb. France: Peeters Publishers.

Shizutani, Masa'o (静谷正雄). 1978. Shōjō-bukkyōshi-no-kenkyū: buha-bukkyō-no-seiritsu-to-hensen 小乗仏教史の研 究ー部派仏教の成立と変遷ー(งานวิจัยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหินยาน: กำเนิดและพัฒนาการพุทธศาสนายุคแตกนิกาย) Kyoto: Hyakka'enkan

Teramoto, Enga, and Tomotsugu Hiramatsu (寺本婉雅, 平松友嗣). 1935. Zō-kan-wa-sanyaku-taikō: Ibushūrinron 藏漢和三譯對校: 異部宗輪論 (คำแปลเปรียบเทียบสามภาษา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น: คัมภีร์สมยเภโทปรจนจักร).Tokyo:Kokushokankōkai.

Tsukamoto, Keishō (塚本啓祥). 1980. Shoki-bukkyō-kyōdan-shi-no-kenkyū 初期仏教教団史の研究 - 部派の形成に関する文 化史的考察 (A History of the Early Buddhist order: A Historical Study on the Formation of the Indian Buddhist Schools). 2nd ed. Tokyo: Sankibōbusshorin.

Walleser, Max. 1927. Die Sekten des alten Buddhismus. Heidelberg: Carl Winter's Universitātsbuchhandlung