กำเนิดนิกายสรวาสติวาท (2)

Main Article Content

Mitomo Kenyo
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม, ดร.

บทคัดย่อ

นิกายสรวาสติวาทเป็นหนึ่งใน 18 นิกายแห่งยุคแตกนิกายของพระพุทธศาสนาในสมัยอินเดียโบราณ ชื่อนิกายชี้ให้เห็นว่า นิกายสรวาสติวาทยอมรับการมีอยู่จริงของสรรพสิ่ง ก่อให้เกิดเป็นข้อสงสัยว่า “สรวาสติ” เป็นชื่อที่มีมาตั้งแต่แรกหรือไม่ เนื่องจากนิกายสรวาสติวาท มีชื่อเรียกอื่นอีก ได้แก่ เหตุวาท 一切語言部 วิภัชยวาทิน ตามที่ได้บันทึกไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ
คำว่า “สัพพัตถวาท” เป็นชื่อเรียกที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของคำสอนนิกายนี้ ที่คาดว่า เป็นชื่อเรียกที่มีมาก่อนแนวคิดเรื่อง ‘สรรพสิ่งมี
อยู่จริง’ จะได้รับการจัดระบบ ภายหลังจึงมีชื่อเรียกว่า สัพพัตถิวาท หรือ
สรวาสติวาท นี้เป็นข้อสมมติฐานที่จะทำการหาคำตอบในบทความ


Article Details

How to Cite
Kenyo, Mitomo, และ พิทักษ์ธีระธรรม เมธี. 2018. “กำเนิดนิกายสรวาสติวาท (2)”. ธรรมธารา 3 (2):47-77. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160785.
บท
บทความพิเศษ
Bookmark and Share

References

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ก. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1)." ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา 2(1): 67-103.

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. 2559ข. "Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (2)." ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา 2(2):57-106.

เมธี พิทักษ์ธีระธรรม (แปล). 2560. "การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (1)." ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา 3(1): 89-123. (แปลจากภาษาญี่ปุ่นของ มิโตะโมะ เคนโย, MITOMO Kenyō (三友健容). 1996. "説一切有部の成立." Journal of Indian and Buddhist Studies 印度学仏教学研究 89: 1-11.)

AKANUMA, Chizen (赤沼智善). 1925. "Bunbetsu-ronsha-ni-tsuite 分別論者に就いて(ศึกษาเกี่ยวกับวิภัชยวาทิน)." Shūkyō-kenkyū 宗教研究 25: 43-64.

KIMURA, Taiken (木村泰賢). 1968. Abidatsumaron-no-kenkyū: Kimura -Taiken-zenshū 4阿毘達磨論の研究・木村泰賢全集4 (งานวิจัยพระอภิธรรม - รวมผลงานเขียนของ คิมูระ ไทเคน ลำดับที่ 4). Tokyo: Daihorin-Kaku.

MITOMO, Kenyō (三友健容).1997. "Goji-hihō-to-ubu-no-seiritsu五事非法と有部の成立." Nijiren-kyōgaku-no-shomondai: Asai-Endō-sensei-koki-kinen-ronnbunnshū日蓮教学の諸問題: 浅井円道先生古稀記念論文集: 935-967(R). Kyoto: Heirakushoten.

Sanrongengi (三論玄義). 1918. Sanron-gengi三論玄義 Bukkyō-taikei / Bukkyō-taikei-kankō-kai-hensan 5: Daijō-sanron-dai-gishō佛教大系 / 佛教大系刊行會編纂5: 大乘三論大義鈔. Tokyo: Bukkyōtaikeikankōkai.

SATŌ, Mitsu'o(佐藤密雄). 1991. Ronji-fu-kaku'on-chū論事付覚音註(คำแปลคัมภีร์อภิธรรมกถาวัตถุและกถาวัตถุอรรถกถา). 2nd ed. Tokyo: Sankibōbusshorin.

SHIZUTANI, Masa'o (静谷正雄). 1978. Shōjō-bukkyōshi-no-kenkyū: buha-bukkyō-no-seiritsu-to-hensen 小乗仏教史の研 究ー部派仏教の成立と変遷ー(งานวิจัยประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาหินยาน: กำเนิด และพัฒนาการพุทธศาสนายุคแตกนิกาย) Kyoto: Hyakka'enkan.

TERAMOTO, Enga, and Tomotsugu HIRAMATSU (寺本婉雅, 平松友嗣). 1974. Zō-kan-wa-sanyaku-taikō: Ibushūrinron 藏漢和三譯對校: 異部宗輪論 (คำแปล เปรียบเทียบสามภาษา ทิเบต จีน ญี่ปุ่น: คัมภีร์สมยเภโทปรจนจักร). Tokyo: Kokushokankōkai.

TSUKAMOTO, Keishō (塚本啓祥). 1980. Shoki-bukkyō-kyōdan-no-kenkyū 初期仏教教団史の研究 - 部派の形成に関する文化史的考察 (A History of the Early Buddhist order: A Historical Study on the Formation of the Indian Buddhist Schools). 2nd ed. Tokyo: Sankibōbusshorin.