พระมหากัจจายนะในเอกสารฉบับต่างๆ (2): ภารกิจมอบหมายจากพระเจ้าจัณฑปัชโชต และพระพุทธเจ้า

Main Article Content

ชาคริต แหลมม่วง

บทคัดย่อ

        บทความนี้มีเนื้อหาต่อเนื่องจากภาคที่แล้ว ในภาคนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก นำเสนอเรื่องราวของพระเจ้าจัณฑปัชโชตและพระมหากัจจายนะในส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับการส่งท่านมหากัจจายนะไปทูลเชิญพระพุทธเจ้า จนถึงการเดินทางของพระมหากัจจายนะกลับไปเผยแผ่ในอุชเชนี โดยเทียบเคียงข้อมูลระหว่างคัมภีร์นิกายเถรวาทและมูลสรวาสติวาท ประการที่สอง ศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างเอกสารต่างฉบับ รวมทั้งพิจารณาข้อมูลที่สมเหตุสมผลกว่า จากชุดข้อมูลที่แย้งกันในเอกสารต่างฉบับ
     เนื้อหาจากคัมภีร์สองสายมีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกัน การศึกษาคัมภีร์คู่ขนานในบทความนี้ส่งผลให้เข้าใจชีวประวัติของพระมหากัจจายนะและพระเจ้าจัณฑปัชโชตได้กว้างขวางและครอบคลุมมากขึ้น จากการวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูลในเอกสารฉบับต่างๆ ได้ข้อสรุปเพิ่มเติม คือ (1) สาเหตุประการหนึ่งที่พระเจ้าจัณฑปัชโชตส่งคนไปทูลเชิญพระพุทธเจ้าคือ ประสงค์ให้พระพุทธองค์เสด็จมาช่วยระงับโรคระบาด (2) ข้อมูลในใบลานที่ใช้ศึกษาสนับสนุนว่า มีผู้บรรลุธรรมพร้อมกับพระมหากัจจายนะเป็นจำนวนประมาณห้าร้อยคน (3) เหตุการณ์ที่พระมหากัจจายนะบวชและเดินทางกลับอุชเชนี น่าจะอยู่ในช่วงพรรษาที่ 7-9 แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธองค์


 


 

Article Details

How to Cite
แหลมม่วง ชาคริต. 2022. “พระมหากัจจายนะในเอกสารฉบับต่างๆ (2): ภารกิจมอบหมายจากพระเจ้าจัณฑปัชโชต และพระพุทธเจ้า”. ธรรมธารา 8 (1):33-76. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/251343.
บท
บทความวิจัยทางพระพุทธศาสนา
Author Biography

ชาคริต แหลมม่วง, ศูนย์วิจัยพระไตรปิฎก DCI

ชาคริต แหลมม่วง

อีเมล์ : [email protected]
เปรียญธรรม 8 ประโยค

การศึกษา
- ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีอินเดีย) มหาวิทยาลัยปักกิ่ง
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีอินเดีย) มหาวิทยาลัยปักกิ่ง
- พุทธศาสตรบัณฑิต (บาลีพุทธศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Bookmark and Share

References

• ภาษาไทย

---1. คัมภีร์

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่ม 7, 32. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552.

---2. บทความ

เสริมสุข วิจารณ์สถิตย์. “การตั้งครรภ์บริสุทธิ์ (ตั้งครรภ์แบบไม่อาศัยเพศ) ในพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์.” วารสารธรรมธารา, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมที่ 11), (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 29-58.

• ภาษาต่างประเทศ

---1. คัมภีร์ภาษาบาลี

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกฏฺฐกถา. ปรมตฺถทีปนี นาม เถรคาถาอฏฺฐกถา (ทุติโย ภาโค). สฺยามรฏฺฐ: มหามกุฏราชวิทฺยาลย, 2535.

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกฏฺฐกถา. มโนรถปูรณี นาม องฺคุตฺตรนิกายฏฺฐกถา (ปฐโม ภาโค). สฺยามรฏฺฐ: มหามกุฏราชวิทฺยาลย, 2535.

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกฏฺฐกถา. วิสุทฺธชนวิลาสินี นาม ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถา อปทานวณฺณนา (ทุติโย ภาโค). สฺยามรฏฺฐ: มหามกุฏราชวิทฺยาลย, 2535.

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ. อปทานสฺส ทุติโย ภาโค พุทฺธวํโส จริยาปิฏกํ. สฺยามรฏฺฐ: มหามกุฏราชวิทฺยาลย, 2552.

Buddha Jayanti Tripitaka Series. Apadāna Pāli Part II (Vol. I). Sri Lanka: The Patronage of the Republic of Sri Lanka, 1977.

Chaṭṭhasaṅgītipiṭakaṃ ဆဋ္ဌသင်္ဂီတိပိဋကံ. Aṅguttaraṭṭhakathā (paṭhamo bhāgo) အင်္ဂုတ္တရဋ္ဌကထာ (ပဌမော ဘာဂေါ). Marammaraṭṭha: Buddhasāsanasamiti, 1957.

Chaṭṭhasaṅgītipiṭakaṃ ဆဋ္ဌသင်္ဂီတိပိဋကံ. Apadānapāḷi (dutiyo bhāgo) Buddhavaṃsapāḷi Cariyāpiṭakapāḷi အပဒါနပါဠိ (ဒုတိယော ဘာဂေါ) ဗုဒ္ဓဝံသပါဠိ စရိယာပိဋကပါဠိ. Marammaraṭṭha: Sāsanikappamukhaṭṭhāna, 1991.

Chaṭṭhasaṅgītipiṭakaṃ ဆဋ္ဌသင်္ဂီတိပိဋကံ. Apadānaṭṭhakathā (dutiyo bhāgo) အပဒါနဋ္ဌကထာ (ဒုတိယော ဘာဂေါ). Marammaraṭṭha: Buddhasāsanasamiti, 1959.

Chaṭṭhasaṅgītipiṭakaṃ ဆဋ္ဌသင်္ဂီတိပိဋကံ. Sāratthadīpanī-ṭīkā (dutiyo bhāgo) သာရတ္ထဒီပနီ-ဋီကာ (ဒုတိယော ဘာဂော). Marammaraṭṭha: Buddhasāsanasamiti, 1960.

Chaṭṭhasaṅgītipiṭakaṃ ဆဋ္ဌသင်္ဂီတိပိဋကံ. Theragāthā-aṭṭhakathā (dutiyo bhāgo) ထေရဂာထာအဋ္ဌကထာ (ဒုတိယော ဘာဂော). Marammaraṭṭha: Buddhasāsanasamiti, 1959.

Pali Text Society. Apadāna Vol. II. Edited by Mary E. Lilley. Oxford: Pali Text Society, 2000.

Pali Text Society. Khuddakapāṭha together with its Commentary Paramatthajotikā I. Edited by Helmer Smith. London: The Pali Text Society, 1978.

Pali Text Society. Commentary on the Dhammapada Vol. IV. Edited by H.C. Norman. London: The Pali Text Society, 1970.

Pali Text Society. Madhuratthavilāsinī nāma Buddhavaṃsaṭṭhakathā. Edited by I. B. Horner. London: Pali Text Society, 1978.

Pali Text Society. Majjhimanikāya Vol. III. Edited by Robert Chalmers. London: Pali Text Society, 1977.

Pali Text Society. Manorathapūraṇī : Buddhaghosa’s Commentary on the Aṅguttaranikāya Vol. I. Edited by Max Walleser. London: Pali Text Society, 1973.

Pali Text Society. Paramatthadīpanī: Theragāthā-aṭṭhakathā Vol. II. Edited by F.L. Woodward. London: Pali Text Society, 1977-1984.

Pali Text Society. Samantapāsādikā: Buddhaghosa’s Commentary on the Vinaya Piṭaka Vol.V. Edited by J. Takakusu and Makoto Nagai. London: Pali Text Society, 1966.

Pali Text Society. Visuddhajanavilāsinī nāma Apadānaṭṭhakathā. Edited by C.E. Godakumbura. Oxford: Pali Text Society, 1988.

Pali Text Society. Vinayapiṭakaṃ Vol.I. Edited by Hermann Oldenberg. Oxford: Pali Text Society, 1997.

Simon Hewavitarne Bequest. Manorathapūranī or The Commentary on the Aṅguttaranikāya Part I. Colombo: The Tripitaka Publication Press, 2007.

Pali Text Society. Paramatthadīpanī or The Commentary of the Theragāthā Part I. Colombo: The Tripitaka Publication Press, 2006.

Pali Text Society. Visuddhajanavilāsinī or The Commentary to the Apadāna Part II. Colombo: The Tripitaka Publication Press, 2013.

---2. คัมภีร์ภาษาสันสกฤต

Somadeva Bhaṭṭa. Kathāsaritsāgara. Edited by Pandit Durgāprasad and Kāśīnāth Pāndurang Parab. Bombay: Pāndurang Jāwajī, 1930.

---3. คัมภีร์ภาษาทิเบต

Derge Edition. sDe dge bKa’ ‘gyur/ bsTan ‘gyur Vol.10, 274. Sichuan: Derge Parkhang, 1733-1744.

---4. คัมภีร์ภาษาจีน

Taishō Issaikyō Kankōkai 大正一切經刊行會 (Taisho Tripitaka Publication Association). Taishō Shinshū Daizōkyō 大正新脩大藏經 (Taishō Revised Tripiṭaka) Vol.2, 4, 22, 23, 24. Tokyo: Daizō Shuppan Kabushiki Kaisha, 1924-1934.

---5. หนังสือภาษาเยอรมัน

Schiefner, A.. Mahâkâtjâjana und König Tshaṇḍa-Pradjota: Ein Cyklus buddhistischer Erzählungen. St. Petersburg: Commissionnaries de l’Académie Impériale des Science, 1875.

---6. บทความภาษาอังกฤษ

Willemen, Charles. “A Chinese Kṣudrakapiṭaka (T. IV. 203).” Études bouddhiques offertes á Jacques, 46, Helf 1 (May 1992): 507-515.

Willemen, Charles. “Xuanzang about Avalokiteśvara, Jibin, and Madhyāntika.” Annals of the Bhandarkar Oriental Research Institute, 94, (2013): 111-123.