พระกาศยปะ-มาตังคะ: คำแปลและอรรถาธิบายชีวประวัติในคัมภีร์เกาเซิงจ้วน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ประกอบไปด้วยบทแปลและอรรถาธิบายชีวประวัติพระกาศยปะ-มาตังคะที่บันทึกอยู่ในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนในฐานะพระสงฆ์รูปแรกแห่งหมวดพระสมณะผู้มีคุณูปการในการแปลพระสูตร ซึ่งรจนาโดยสมณะฮุ่ยเจี่ยวราวปีคริสต์ศักราช 530 หากยึดตามความเห็นท่านฮุ่ยเจี่ยวผู้ประพันธ์คัมภีร์ดังกล่าวเห็นว่า กาศยปะ-มาตังคะเป็นสมณสงฆ์ชาวอินเดียรูปแรกแห่งพุทธศาสนาที่เดินทางมาถึงประเทศจีน หากกล่าวในฐานะที่ท่านเป็นภิกษุรูปแรกนับว่าเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งในการสื่อสารหรือทำความเข้าใจกับวัฒนธรรมที่แตกต่างเพื่อปรับประยุกต์คำสอนให้สัมฤทธิ์ผล จึงได้แต่เก็บความรู้ในพระธรรมไว้กับตนเองและมรณภาพในที่สุด แม้ท่านจะไม่สามารถเผยแผ่คำสอนได้ก็ตาม แต่ก็กลายเป็นตำนานบทสำคัญซึ่งถือเป็นปฐมบทแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศจีนให้พระรุ่นหลังได้ถอดบทเรียนเพื่อเตรียมตัวในงานเผยแผ่ต่างประเทศให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม
ส่วนการตรวจสอบและวิเคราะห์เนื้อหาแสดงไว้ในส่วนอรรถาธิบาย สามารถแบ่งออกเป็น 3 หมวดใหญ่และคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ได้ดังนี้ 1) ประวัติศาสตร์จีน 42% 2) พระพุทธศาสนา 25% และ 3) ภาษา 33% ใน 3 หมวดดังกล่าว พบว่า หมวดประวัติศาสตร์จีนมีประเด็นปัญหาที่ยากจะสรุปได้มากที่สุด เช่น ตัวขุนนางและยุคสมัยที่เข้ารับราชการเมื่อเทียบกับในบันทึกอื่นที่เห็นต่างกัน
ดังเช่นในกรณีของฟู่อี้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
References
• ภาษาไทย
---1. หนังสือ
ชะเอม แก้วคล้าย. สุวรรณประภาโสตตมสูตเรนทรราชสูตร. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2558.
พระมหาอานนท์ อานนฺโท. คัมภีร์ 42 บท ปฐมคัมภีร์พระพุทธศาสนาพากย์จีน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การแปลคัมภีร์พระพุทธศาสตร์ ไทย-จีน มูลนิธิพุทธรังสี, 2564.
หลี่ฉวนจวิน และคณะ. 101 คำถามสามก๊ก. แปลโดย ถาวร สิกโกศล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน, 2556.
---2. บทความ
บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์. “เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร.” วารสารธรรมธารา, ปีที่ 1, ฉบับที่ 1 (มกราคม-ธันวาคม 2558): 55-96.
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม, ปิยาภรณ์ ว่องวรางกูร และพรพิมล ศรีหมอก. “ชีวประวัติพระคังเซิงฮุ่ยในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนแปล (1): การอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุของพระคังเซิงฮุ่ยในรัชสมัยพระเจ้าซุนกวนยุคสามก๊ก.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 27, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563): 104-138.
______. “ชีวประวัติพระคังเซิงฮุ่ยในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนแปล (2): ผลกรรมการลบหลู่พระพุทธรูปของพระเจ้าซุนโฮ.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 29, ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2565): 31-66.
---3. วิทยานิพนธ์
สุวิไล บุญธวัชชัย. “การศึกษาวิเคราะห์สุวรรณประภาโสตตมสูตร.” วิทยานิพนธ์ระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2560.
• ภาษาต่างประเทศ
---1. หนังสือ
KAMATA, Shigeo. Chūgoku bukkyō shi 1 中国仏教史 I (ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาจีน 1). Tokyo: Tokyōdaigaku shuppan kai, 1982.
MIYAGAWA, Hisayoshi. Rikuchō shi kenkyū 六朝史研究 (งานวิจัยยุคหกราชวงศ์). Kyoto: Heirakuji shoten, 1964.
NATTIER, Jan. A Few Good Men: The Bodhisattva Path According to the Inquiry of Ugra (Ugraparipṛcchā). Honolulu: University of Hawai‘i Press, 2003.
SHIH, Robert. Biographies des Moines Éminents (Kao Seng Tchouan) de Houei-Kiao: Traduites et Annotées. Louvain: Institut Orientaliste, Université de Louvain. 1968.
Shirukurōdo kentei jikkō iinkai-hen (シルクロード検定実行委員会編). Yomu jiten : shirukurōdo no sekai 読む事典 : シルクロードの世界 (สารานุกรมน่าอ่าน ตอน อาณาจักรบนเส้นทางสายไหม). Tokyo: NHK Shuppan, 2019.
YOSHIKAWA, Tadao and Toru FUNAYAMA. Kōsō den 1 高僧伝 I (คัมภีร์เกาเซิงจ้วน 1). Tokyo: Iwanami bunko, 2009.
---2. พจนานุกรม
APTE, V.S.. The Student’s Sanskrit-English Dictionary: Containing Appendices on Sanskrit Prosody and Important Literary and Geographical Names in the Ancient History of India. Delhi: Motilal Banarsidass, 1970.
MONIER-WILLIAMS, M.. A Sanskrit-English Dictionary. Delhi: Motilal Banarsidass, 2002.
---3. บทความ
ANALAYO. “The Hīnayāna Fallacy.” Journal of the Oxford Centre for Buddhist Studies, Vol. 6, (2014): 9-31.
de CRESPIGNY, Rafe. “Scholars and Rulers: imperial patronage under the Later Han dynasty.” Han-Zeit: Festschrift für Hans Stumpfeldt aus Anlaß seines 65. Geburtstages. Edited by Michael Friedrich, Reinhard Emmerich and Hans van Ess. Wiesbaden: Harrassowitz Verlag, (2006): 57-77.
FUKUI, Shigemasa. “秦漢時代における博士制度の展開 : 五經博士の設置をめぐる疑義再論 (The Development of the Boshi System during the Qin-Han Periods).” The Journal of Oriental Researches, Vol. 54, No. 1, (1995): 1-31.
HIRAI, Shun’ei. “高僧伝の注釈的研究 (การวิจัยเชิงแปลและอรรถาธิบายคัมภีร์เกาเซิงจ้วน).” Journal of the Faculty of Buddhism of the Komazawa University, Vol. 49 (1991): 170-184 (L).
IJIMA, Yoshiko. “後漢時代の東観での「校書」と「著作」―担当した学者官僚と対象になった書物― (The Dongguan Library of the later Han and Its Editorial work with additions).” Asian Cultural Studies, Vol. 41, (2015): 113-134.
JI, Xianlin (季 羨林). “「浮屠」と「仏」再論 (Futo浮屠 and Fo仏 revisited).” translated by Seishi KARASHIMA (辛嶋靜志) and Yunqing QIU (裘雲青). Annual Report of the International Research Institute for Advanced Buddhology at Soka University, Vol. 10, (2007): 461-470(L).
KARASHIMA, Seishi. “Indian Folk Etymologies and their Reflections in Chinese Translations: brāhmaṇa, śramaṇa and Vaiśramaṇa.” Annual Report of the International Research Institute for Advanced Buddhology at Soka University, Vol. 19, (2016): 101-123.
LÉVI, Sylvain. “Missions de Wang Hiuen-Ts’e dans l’Inde.” Journal Asiatique, (1900): 297-468.
______. “Notes sur les Indo-Scythes.” Journal Asiatique, (1897): 5-26.
RADICH, Michael. “On the Sources, Style and Authorship of Chapters of the Synoptic Suvarṇaprabhāsottama-sūtra T664 Ascribed to Paramārtha (Part 1).” Annual Report of The International Research Institute for Advanced Buddhology, Vol. 17, (2014): 207-244.
Sadakata, Akira. “月氏の伊存について (ประเด็นปัญหาของคำว่า “อิซอน” แห่งเกกชิ).” Journal of Indian and Buddhist Studies 61, (1982): 25-30.
---4. ข้อมูลจากเว็บไซต์
zh.m.wikisource.org. “Hou HanShu/24 (後漢書卷24).” Accessed June 5, 2022. https://zh.m.wikisource.org/zh-hant/後漢書/卷24.
zh.m.wikisource.org. “Hou HanShu/80 (後漢書卷80上).” Accessed June 5, 2022. https://zh.m.wikisource.org/zh-hant/後漢書/卷80上.