กระบวนการสร้างบทละครเวที : เรื่อง จันทรา มายา อาชาไนย

ผู้แต่ง

  • ยุทธนา บุญอาชาทอง คณะนิเทศศาสตร์
  • พลฤทธิ์ สมุทรกลิน

คำสำคัญ:

การเขียนบทละคร, การเขียนบทละครเวที, กระบวนการคิดสร้างสรรค์, เทคนิคการเขียนบทละครเวที

บทคัดย่อ

บทความวิชาการสร้างสรรค์ครั้งนี้ ศึกษาเรื่อง กระบวนการสร้างบทละครเวที: เรื่อง จันทรา มายา อาชาไนย เพื่อศึกษา กระบวนการคิดสร้างสรรค์ วิธีการเขียนบทละครเวที และเทคนิคเฉพาะบุคคลผู้เขียนบทละครเวที การสร้างสรรค์ครั้งนี้เป็นผลงานที่ใช้สร้างสรรค์บทละครขึ้นมาใหม่ และจัดทำการแสดงจริง

ผลงของการศึกษาพบว่า การสร้างสรรค์บทละครเวทีที่มีการคิดจากบทดั้งเดิม และผนวกกับสิ่งที่เกิดรอบตัว ทั้งเหตุการณ์ปัจจุบันและ สังคม การทีผู้เขียนบทมีเทคนิคเฉพาะบุคคล ทำให้เกิดเอกลักษณ์ ซึ่งการเล่าเรื่องของผู้เขียนมีผลต่อความคิดและความเข้าใจในการเขียนบทละคร และสิ่งสำคัญคือการที่ผู้เขียนบทต้องการสื่อสาร โดยผ่านความคิดหลักของเรื่องและไปถึงผู้รับสาร กระบวนการเขียนบทประกอบไปด้วย ความชอบ แรงบันดาลใจ การหาข้อมูล การเขียนโครงเรื่อง โครงเรื่องขยาย การแสดงสด การซ้อม และบทแสดง ทำให้เกิดบทละคร

References

กอบกุล อังคุทานนท์. (2537). ละครเวทีสมัยใหม่. ฉัตร.

เขมิกา จินดาวงศ์. (2551). การวิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่อง ในภาพยนตร์ของ อภิชาตพงศ์ วีระเศษฐ กุล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/13361

นพมาส แววหงษ์. (2550). ปริทัศน์ศิลปะการละคร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นราพร สังข์ชัย. (2551). การเขียนบทละครโทรทัศน์:กระบวนการคิดสร้างสรรค์และเทคนิค.

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

นับทอง ทองใบ. (2553). ศิลปวิจารณ์ รายการวิทยุโทรทัศน์. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

พัชรินทร์ มหิทธิกร. (2551). สิงหไกรภพ:การศึกษาการดัดแปลงนิทานคำกลอนเป็นบทละคร

เวทีสมัยใหม่. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. https://www.lib.ku.ac.th/2019/

พิชญา พิริยะประทานคุณ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกชมละครเวทีโรงเล็กของประชาชน

ในเขตกรุงเทพมหานคร. [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต,

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. http://203.131.210.100/ejournal/wp- content/uploads/2014/03/jcis560261.pdf

พรรัตน์ ดำรง. (2547). การละครสำหรับเยาชน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรรณศักดิ์ สุขี. (2514). การเขียนบทละคร. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มัทนี รัตนิน. (2555). ศิลปะการแสดงละคร. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยุทธนา บุญอาชาทอง. (2559). การเขียนบทละครเวทีสมัยใหม่. มหาวิทยาลัยธรุกิจบัณฑิตย์.

ศิวาวุธ ไพรีพินาศ. (2557). กระบวนการสร้างบทอิงประวัติศาสตร์ในสื่อจินตคดีสมัยใหม่ (รายงาน

ผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สมพร ฟูราจ. (2554). ศิลปะท่าทางและการเคลื่อนไหว. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Ball, D. (1988). Backward and Forwards. Southern Illinois University Press.

Card, O. S. (1999). Characters & Viewpoint. Writer’s Digest Books.

Cooper, P. & Dancyer, K. (1999). Writing the Short Film. Focal Press

Dunne, W. (2009). The Dramatic writer’s companion. The University of Chicago Press.

Fortier, M. (2002). Theory /Theater. Rutledge..

Rutnin, M. M. (1996). Dance Drama, and Theatre in Thailand. Silkworm Books.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-05