ปัจจัยสาเหตุและผลของการจัดการความคิดสร้างสรรค์ทรัพยากรมนุษย์: หลักฐานเชิงประจักษ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) อิทธิพลของปัจจัยสาเหตุได้แก่ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์วัฒนธรรมองค์การเชิงสร้างสรรค์ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การที่มีต่อการจัดการความคิดเชิงสร้างสรรค์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย และ (2) ศึกษาอิทธิพลของการจัดการความคิดสร้างสรรค์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทยได้แก่นวัตกรรมองค์การ และผลการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทยโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารสหกรณ์ของออมทรัพย์จำนวน 484 สหกรณ์ สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง
โดยผลการวิจัยตามสมมติฐานของการศึกษาพบว่าปัจจัยสาเหตุ ได้แก่ ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์และการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อการจัดการความคิดเชิงสร้างสรรค์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย
ส่วนผลของการจัดการความคิดสร้างสรรค์ทรัพยากรมนุษย์ พบว่าการจัดการความคิดสร้างสรรค์ทรัพยากรมนุษย์มีอิทธิพลทางตรงต่อนวัตกรรมองค์การและการจัดการความคิดสร้างสรรค์ทรัพยากรมนุษย์มีอิทธิพลทางตรงต่อผลการดำเนินงานทางธุรกิจซึ่งผลการศึกษาที่ได้นั้นสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานด้านการจัดการความคิดสร้างสรรค์ทรัพยากรมนุษย์ของสหกรณ์ให้ประสบความสำเร็จต่อไปได้
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
กรองทิพย์ นาควิเชตร์. (2552). ภาวะผู้นำสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. สมุทรปราการ: ธีรสาส์นพับลิวเชอร์.
ณัฐธิดา ชูเจริญพิพัฒน์. (2555). วัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์เขตนครสวรรค์. (ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
นภดล ร่มโพธิ์. (2554). การวัดผลการปฏิบัติงานองค์กร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พยัต วุฒิรงค์. (2555). การจัดการนวัตกรรมจากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยงยุทธ ทยศยิ่งยง. (2557). ปัจจัยและหลักการพื้นฐานขององค์กรแห่งนวัตกรรม. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2561, จาก http://www.gotoknow.org/posts/176802.
วรชัย สิงหฤกษ์ และวิโรจน์ เจษฏาลักษณ์. (2562). นวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสหกรณ์. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 9(1), 1-9.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). รายงานการศึกษาเบื้องต้น เศรษฐกิจสร้างสรรค์: The Creative Economy. กรุงเทพฯ: บริษัทบี.ซี. เพรส (บุญชิน) จำกัด.
สุขพัชรา ซิ้มเจริญ. (2556). โครงสร้างองค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้นิเทศภายในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ดุษฏีนิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม. กรุงเทพฯ.
Barney, J.B. (1991), Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.
Froehle, C.M. and Roth, A.V. (2007). A Resource-Process Framework of New Service Development, Production and Operations Management, 16(2), 169-188.
Higgines, M. James. (2006). 101 Creative Problem Solving Technique: The Handbook of New Ideas for Business. New Management Publishing Company Ins.
Hill, R. and Johnson, L.W. (2003), When creativity is a must. Creativity and Innovation Management, 12(4), 221-229.
Ho, L. H., & Chang, P. Y. (2015). Innovation Capabilities, Service Capabilities and Corporate Performance in Logistics Services. International Journal of Organizational Innovation, 7(3), 24-33.
KangyinLu, Jinxia Zhu, HaiJun Bao (2015). High-performance human resource management and firm performance: The mediating role of innovation in China. Ind. Manag. Data Syst, 115(2), 353-382.
Kanungo, R.N. (1999). Entrepreneurship and Innovation: Models for Development. London: Sage Publications.
Laundy, P. (2006). An Innovation Discipline Model. Retrieved Feb 2, 2018, from http://www.bpminstitute.org/articles/article/article/an-innovation-discipline-model.html.
Li, Y., Zhou, N., & Si, Y. (2010). Exploratory Innovation, Exploitative Innovation, and Performance. Nankai Business Review International, 1(3), 297-316.
Lyons, C., & Joyce. (2007). Innovation in service: Corporate culture and investment banking. Californian Management Review, 50, 174-191.
McKeown, M. (2008). The Truth about Innovation. London: Prentice Hall.
Mueller, J.S., Goncalo, J. A. & Kamdar, D. (2010). Recognizing Creative Leadership: Can Creative Idea Expression Negatively Relate to Perception of Leadership Potential?. Cornell University, School of Industrial and Labor Relation.
Narasimhan, O., Surendra, R., & Dutta, S. (2006). Absorptive Capacity in High-Technology Markets: The Competitive Advantage of the Haves. Marketing Science, 25(5), 510-549.
Peng Yu-Shu, and Shing-Shiuan Lin. (2008). Local Responsiveness Pressure, Subsidiary Resources, Green Management Adoption and Subsidiary’s Performance: Evidence from Taiwanese manufactures. Journal of Business Ethics 79, 199-212.
Schumacker, E. R. and G. R. Lomax. (2010). A Beginner's Guide to Structural Equation Modeling (3rd ed.) New York: Routledge.
Sternberg. R. J. (2008) Teaching Critical Thinking, Part 1 Are We Marking Critical Mistake. Phi Delta Kappen. 67(3), 194-197.
Stoll, L., & Julie, T. (2009). Creative Leadership: A Challenge of Our Times. School Leadership and Management, 29(1), 65-78.
Tung, J. (2012). A Study of Product Innovation on Firm Performance. International Journal of Organizational Innovation, 4(3), 84-97.
Woodman, R.W. (2008). Creativity and Organizational Change: Linking Idea and Extending Theory. New York: Taylor & Francis Group.
Zahra, S. A., & George, G. (2002). Absorptive Capacity: A Review, Reconceptualization, and Extension. The Academy of Management Review, 27(2), 185-203.
Zhu, Z., & Huang, F. (2012). The Effect of R&D Investment on Firms' Financial Performance: Evidence from the Chinese Listed IT Firms. Modern Economy, 3(8), 915-919.