ความเป็นวิชาชีพของสื่อสารมวลชน

Main Article Content

พิบูลย์ วิฑูรย์ปัญญากุล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้สื่อสารมวลชนมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ  เพราะวิชาชีพนี้ต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม  และควรที่จะส่งเสริมให้สื่อสารมวลชนมีความเป็นวิชาชีพมากขึ้น โดยขอมุ่งถึงการทำงานในรูปแบบวิชาชีพเป็นหลักในการพิจารณา ว่าสื่อสารมวลชนนั้นควรมีสภาวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพมาควบคุมด้วยควบคุมจรรยาบรรณหรือมรรยาท  ซึ่งในวิชาชีพการควบคุมจรรยาบรรณหรือมรรยาทในวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพ  นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญของการเป็นวิชาชีพควบคุม  ซึ่งองค์กรวิชาชีพหรือสภาวิชาชีพสื่อสารมวลชนต้องมีการออกจริยธรรม  หรือจรรยาบรรณของวิชาชีพสื่อมารมวลชนมาใช้บังคับรวมทั้งต้องมีสภาพบังคับทางบทบัญญัติของกฎหมายกฎหมายกล่าวคือมีบทลงโทษ หรือสภาพบังคับ ทั้งทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางปกครองด้วย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กุลพล พลวัน. (2541). รายงานการวิจัยประกอบการร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2541 ... ประเด็นบทบาทขององค์กรวิชาชีพกับการศึกษา (กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ).

ดาริน เทคโน. (2555/8/21). ความหมายสื่อสารมวลชนเพื่อการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2562, จากhttps://sites.google.com/site/darinthekhno/khwam-hmay-suxmwlchn-pheux-kar-suksa.

บุญเลิศ คชายุทธเดช. (2541). รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

พิมล ธรรมพิทักษ์พงษ์. (2549). “เสรีภาพของหนังสือพิมพ์ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน” รวมบทความทางวิชาการชุดที่ 5: เรื่อง ศาลรัฐธรรมนูญกับหลักประกันการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน. เมษายน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์).

วรวิทย์ ฤทธิทิศ. (2537, มกราคม-กุมภาพันธ์). ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชน. ดุลพาห,41 (1). 75-97.

อรรถ อินทรศักดิ์. (2549). “ปัญหาทางกฎหมายขององค์กรวิชาชีพ: ศึกษาเฉพาะกรณีสภาวิศวกร,” (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อิสระนิว. (2558/7/25). มุมมองในการปฏิรูปสื่อ. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2562,/ จากhttps://www.isranews.org/isranews /40169-reformmedia_40169.html.

James Russell Wiggins. (1956). Freedom or secrecy. New York: Oxford University Press.
(กลับคำโดยใช้สกุลขึ้นก่อน) Wiggins, J.R.

McQuail, D. (2005). Mass communication theory. London: Sage.

Skills recognition directory for professional occupations in ASEAN and Australia Department of Employment, Education, Training, and Youth. (1996).Affairs Commonwealth Government of Australia.