ความจริงเกี่ยวกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์และ แนวทางการเลือกวิธีวิทยาให้เหมาะสมกับปัญหาวิจัย

Main Article Content

สุบิน ยุระรัช

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความจริงเกี่ยวกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ใน 4 ประเด็น คือ (1) ความหมายและองค์ประกอบของการวิจัย (2) การสรุปผลการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (3) ประเภทของการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และ (4) วิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และเพื่อนำเสนอแนวทางการเลือกวิธีวิทยาให้เหมาะสมกับปัญหาวิจัย ผลการสังเคราะห์และวิเคราะห์เอกสาร พบว่า วิธีวิทยาการวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มี 3 ประเภท ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยแบบผสม ซึ่งวิธีวิทยาทั้ง 3 ประเภทนี้มีแนวคิดและลักษณะที่แตกต่างกัน การเลือกวิธีวิทยาการวิจัยแบบใดมาใช้นั้นขึ้นอยู่กับปัญหาวิจัย เพราะการเลือกวิธีวิทยาที่ถูกต้องและเหมาะสมมาใช้จะทำให้ผลการวิจัยมีคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์

Article Details

บท
บทความพิเศษ

References

นงลักษณ์ วิรัชชัย และสุวิมล ว่องวาณิช. (2555). หลักสูตร “มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในการวิจัยการศึกษา”เอกสารในโครงการ “การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมนักวิจัยการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการวิจัย.” กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สุบิน ยุระรัช. (2554). การนำผลประเมินคุณภาพไปใช้ประโยชน์อย่างคลาดเคลื่อนในสถาบันอุดมศึกษา: มุมมองเชิงทฤษฎีและข้อมูลเชิงประจักษ์. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11 (1), 132-140.

Caracelli, V.J. & Greene, J.C. (1993). “Data Analysis Strategies for Mixed-Method Evaluation Designs.” Educational Evaluation and Policy Analysis, 15 (2), 195-207.

Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. New York: Academic Press.

Creswell, J. W. (2005). Educational Research: Planning, Conducting, and Evaluating Quantitative and Qualitative Research. 2nd Ed. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education.

Creswell, J.W., & Plano Clark, V.L. (2007). Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks: Sage.

Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A.-G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods,39,175-191.

Kerlinger, F. N. & Lee, H. B. (2000). Foundations of behavioural research. 4th ed. Singapore: Wadsworth.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30 (3), 607-610.

Maslow, A.H. 1943. A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50, 370-396.

McMillan, J. H. & Schumacher, S. (1993). Research in education: A conceptual understanding. New York: HaprerCollins.

Rossman, G. B., & Wilson, B.L. (1985). “Number and words: Combining Quantitative and Qualitative Methods in a Single Large-scale Evaluation Study.” Evaluation Review, 9 (5), 627-643.

Streubert, Helen J. & Carpenter, Dona R. (Eds.) (1995). Qualitative Research in Nursing: Advancing the Humanist Imperative. Philadelphia: Lippincott.

Tashakkori, A. & Teddie, C. (1998). Mixed Methodology: Combining qualitative and quantitative approaches. Thousand Oaks, CA: Sage.

Yamane, T. 1973. Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. USA: Harper & Row.