แนวทางพระราชดำริ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา กับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
Main Article Content
บทคัดย่อ
หลักการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และขับเคลื่อนงานพัฒนาด้วยความ ต้องการที่แท้จริงของคนในชุมชน มีความสอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (CSR) เพื่อการสร้างคุณค่าร่วม Creating Shared Value (CSV) การดำเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชนหรือสังคม สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างกิจการกับชุมชนและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของบริษัท การพัฒนาสังคม (Social Development) โดยองค์กรมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ส่งเสริมการศึกษาวัฒนธรรม และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม การอาสาช่วยเหลือชุมชน (Community Volunteering) เป็นการสนับสนุนหรือจูงใจให้พนักงาน คู่ค้าร่วมสละเวลาและแรงงานในการทำงานให้แก่ชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่และเพื่อตอบสนองต่อประเด็นปัญหาทางสังคมที่องค์กรให้ความสนใจหรือห่วงใย ตามเป้าหมายไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
ปาริชาติ สถาปิตานันท์ และคณะ. (2549). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน: จากแนวคิดสู่ปฏิบัติการวิจัยในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปาริชาติ สถาปิตานันท์. (2551). การสื่อสารประเด็นสาธารณะและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ. (2555). CSR กับการพัฒนาที่ยั่งยืน .วารสารเศรษฐศาสตร์สุโขทัยธรรมาธิราช, 6(2), 1-10.
นิภา วิริยะพิพัฒน์. (2552). ก้าวทันกระแส CSR: ความพร้อมสู่มาตรฐานISO 26000. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 29(3), 193-205.
รพีพรรณ วงศ์ประเสริฐ. (2552). ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ. BU Academic Review, 8(2), 85-94.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2553). แนวทางการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม .สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ.
สถาบันคีนันแห่งเอเชีย. (2550). การศึกษาความพร้อมขององค์กรและหน่วยงานในประเทศไทย เพื่อรองรับการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันคีนันแห่งเอเชีย
สถาบันพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร. กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดําริ. (2554). รายงานประจําปี 2553 มูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดําริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดําริ.
สถาบันไทยพัฒน์. (2551). ทำความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ให้สำเร็จด้วยวิธีใด. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558 จาก http://csr-faq.blogspot.com/2006/02/blog-post.html.
สถาบันไทยพัฒน์. (2557). จับตา 6 เทรนด์ CSR ปี 2557. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558 จาก http://www.thaicsr.com/2014/02/6-csr-2557.html.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558 จาก http://www.sec.or.th/TH/RaisingFunds/ EquityDebt/ Pages/linkLaws_Regulations/CSR.aspx.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2550). ร่างมาตรฐานสากลว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม.กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
สำนักประสานการปฏิบัติงานสนองพระราชดำริและกิจการพิเศษ. (2555). หลักการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ คือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เป็นบันได 3 ขั้นสู่ความสำเร็จ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2558 จาก http://www.treconwebsite.com/royalprojects/index.php?option=com_content&view= article&id=102.
อัศวิน จินตกานนท์. (2552). เข้าใจ CSR สร้างสรรค์ พัฒนา อย่างมีจริยธรรม .กรุงเทพฯ: บริษัท ดาวฤกษ์ คอมมูนิเคชั่นส์ จำกัด .
Bussey C. (2011). Brilliant PR: create a PR sensation, whatever your budget, whatever your business. London: Pearson Education Inc.
Carroll, A. B. (1999). Corporate social responsibility, Business & Society, 38(3), 268–295.
Darrell C. Hayes, Jerry A. Hendrix, Pallavi D. Kumar. (2013). Public Relation Cases. Boston: Wadsworth Cengage Learning.
Fred N. Kerlinger, Howard B. Lee. (2000). Foundations of Behavioral Research. Boston: Wadsworth Cengage Learning.
Katherine Miller. (2012). Organization Communication Approaches and Processes. Boston: Wadsworth Cengage Learning.
Mahoney, L. S., & Thorne, L. (2005). Corporate social responsibility and long-term compensation: Evidence from Canada, Journal of Business Ethics. 57(3), 241–263.
Mohd Azizuddin Mohd Sani. (2010). Freedom of political speech and Social Responsibility in Malaysia. Kebangsaan: Penerbit University.
Philip Kotler and Nancy Lee. (2005). Corporate Social Responsibility. NJ: John Wiley & Sons Inc. Hoboken.
Porter, M. E., & Kramer, M.R. (2011). Creating shared value. Harvard Business Review, 89(1/2), 62-77.