เพศวิถีศึกษา : ผลกระทบต่อสถาบันทางสังคม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ เป็นบทความที่กล่าวถึงเพศวิถีศึกษาที่เป็นการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศที่มีความสำคัญต่อผู้เรียน ผู้ปกครอง ครูและผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนชุมชนและสังคม การเรียนรู้เพศวิถีศึกษาจะช่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางเพศ ความพึงพอใจทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ พัฒนาการทางเพศในแต่ละช่วงวัย การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล สุขภาวะทางเพศ และมิติทางสังคมวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องเพศ ในแง่ของผลกระทบการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษาต่อสถาบันทางสังคม เช่น ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน ครูและผู้เกี่ยวข้องควรศึกษาและตระหนักในบทบาทหน้าที่ที่ต้องจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนให้เหมาะสม
Downloads
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ สำนักงานประจำประเทศไทย (UNFPA) (2558). แนวทางการดำเนินงานเพศวิถีศึกษาโดยกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ: การให้ความสำคัญแก่สิทธิมนุษยชนและเพศภาวะ. กรุงเทพฯ.
ณรงค์ เส็งประชา. (2538). มนุษย์กับสังคม. มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559. (2559, 31 มีนาคม) ราชกิจจานุเบกษาเล่ม 133 ตอนที่ 30ก. หน้า 1
พริศรา แซ่ก้วย (2547). เพศวิถี: วันวาน วันนี้ และวันพรุ่งที่จะไม่เหมือนเดิม. กรุงเทพฯ: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิลาสินี พิพิธกุล. (2547). วาทกรรมเรื่องเพศในหนังสือพิมพ์. ใน การประชุมเรื่องคณะผู้เชี่ยวชาญและคณะทำงานเพื่อบัญญัติศัพท์การนำเสนอข่าวผู้หญิงในสื่อมวลชน. กรุงเทพฯ: สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย.
วิลาสินี พิพิธกุล และกิตติ กันภัย. (2546). เพศและการสื่อสารในสังคมไทย (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน. (2558). การพัฒนาเพศศึกษาในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน. (2558). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพศศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.royin.go.th/dictionary/index.php
สุรัสวดี หุ่นพยนต์ และ ชนาธิป บุณยเกตุ. (2543). สตรีกับบทบาทในการเข้าร่วมองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.): บริบททางสังคม วัฒนธรรม และการเมือง. (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO). (2552). แนวทางเชิงวิชาการสากลของเพศวิถีศึกษา เล่มที่ 1 หลักการและเหตุผลของเพศวิถีศึกษา. กรุงเทพฯ: ยูเนสโก.
อาริยา ภูวคีรีวิวัฒน์. (2559). เพศวิถีกับการดำเนินธุรกิจครอบครัวในสังคมไทย. (ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.
Chaoudhuri, D.D., Santiago-Rivera, A. & Garrett, M.T. (2012). Counseling and Diversity. Belmont, CA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
Martinsson, L., Reimers, E., Reingarde, J. and Lundgren, A.S. (2007). Norms at Work: Challenging Homophobia and Heteronormativity. Deledios: Transnational Cooperation for Equality.