ผลกระทบและแนวทางการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรณีศึกษา: จังหวัดนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา โดยทำการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 400 ราย พบว่า แนวทางปรับตัวของเกษตรกรจะมีการปรับเปลี่ยนพันธุ์มันสำปะหลังให้สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันโดยรับแจกจากกรมส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ รองลงมาเกษตรกรจะทำการปลูกพืชที่หลายหลายชนิด เช่น อ้อย ยางพารา และข้าวโพด เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ และมีการติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศจากวิทยุชุมชน ข้อเสนอแนะจากการศึกษา หน่วยงานการส่งเสริมการเกษตรควรอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรื่องแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเพาะปลูกมันสำปะหลังในฤดูกาลที่เหมาะสม ตลอดจนสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการเกษตรอย่างพอเพียงเพื่อนำไปสู่การปรับตัวอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Article Details
สงวนลิขสิทธิ์ © 2553 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดพิมพ์วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ นโยบายสารธารณะ และสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน โดยบทความที่ได้รับการตอบรับจะถือเป็นลิขสิทธิ์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐญา ประไพพานิช
References
ร้อนต่อการผลิตข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และข้าวโพดของประเทศไทย. เสนอต่อสำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพ
กัลยา วานิชบัญชา. (2551). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Window. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไชยรัตน์ เพ็ชรชลานุวัฒน์. (2542). ผลกระทบของพันธุ์ อายุการเก็บเกี่ยว อัตราปุ๋ยที่มีต่อผลผลิตและคุณภาพ
แป้งมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพืชไร่นา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ยุทธชัย อนุรักติพันธุ์ และสรรสฤษฎ์ เธียรโพธิ์ภิรักษ์. (2546). ความแห้งแล้งซ้ำซากสู่ภาวการณ์เป็นทะเลทราย
ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน.
ศุภกร ชินวรรโณ. (2554). ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ (ฉบับแก้ไข) โครงการ ศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในอนาคต และการปรับตัวของภาคส่วนที่ สำคัญ. ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สหัสชัย คงทน, วินัย ศรวัต และ สุกิจ รัตนศรีวงษ์. (2547). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อการ
ผลิตข้าวโพด อ้อยและมันสำปะหลัง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
ศูนย์สารสนเทศการเกษตร. (2559). ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร. กรุงเทพฯ.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.
ภาษาต่างประเทศ
Abid, M., Schilling, J., Scheffran, J., & Zulfiqar, F. (2016). Climate Change Vulnerability, Adaptation and Risk Perceptions at Farm Level in Punjab, Pakistan. Science of the
Total Environment, 547, 447–460.
Chinvanno, S. (2009). Future Climate Projection for Thailand and Surrounding
Countries: Climate change scenario of 21st century. The First China-Thailand Joint
Seminar on Climate Change, 23-24 March 2009. Bangkok : Thailand Research Funf (TRF) and National Natural Science Foundation of China (NSFC).
Christine Marie D.Habito ,Rafaela Jane P. Delfi and Rogelio N Concepcion. (2011).
Climate Change Adaptation for Smallholder Farmers in Southeast Asia. Philippines:
World Agroforestry Centre.
Murdiyarso, D. (2000). Adaptation to Climatic Variability and Change: Asian Perspectives on Agriculture and Food Security. Environmental Monitoring and Assessment 61(1, March):123–31.
Ratchanok Sangpenchan. (2009). Climate Change Impacts on Cassva Production in
Northeastern Thailand. Master of Science. Department of Geography. The
Pennsylvania State University.
Yamane, Taro. (1976). Statistics and introduction analysis. 2nd en, Harper & Row, New York.