การย้ายถิ่นบนเส้นทางของการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย

Main Article Content

อ้อทิพย์ ราษฎร์นิยม

บทคัดย่อ

          การย้ายถิ่นบนเส้นทางของการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทยจากประเทศไทย 1.0 ถึงประเทศไทย 3.0 นั้น  พบว่าการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้โมเดลประเทศไทย 1.0 การย้ายถิ่นในประเทศจะเป็นการย้ายถิ่นจากชนบทไปชนบทในสัดส่วนที่สูง  ส่วนการย้ายถิ่นระหว่างประเทศจะเป็นการย้ายถิ่นของผู้มีทักษะจากประเทศไทยไปยังประเทศที่มีระดับการพัฒนามากกว่า  ครั้นเมื่อประเทศไทยพัฒนาอุตสาหกรรมตามโมเดลประเทศไทย 2.0 และโมเดลประเทศไทย 3.0  การย้ายถิ่นภายในประเทศจะเป็นการย้ายถิ่นจากชนบทสู่เมือง และเมืองเข้าสู่เมืองเพิ่มมากขึ้น  ส่วนการย้ายถิ่นระหว่างประเทศยังคงมีการย้ายถิ่นของแรงงานไทยที่ไปทำงานในประเทศที่มีระดับการพัฒนาสูงกว่าประเทศไทย  และแรงงานต่างชาติที่มีระดับการพัฒนาประเทศต่ำว่าประเทศไทยย้ายถิ่นเข้ามาทำงานแทนในอาชีพที่แรงงานไทยไม่ประสงค์จะทำงาน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการจัดหางาน. (2560). สรุปสถานการณ์ไปทำงานต่างประเทศของแรงงานไทยประจำปี 2559. https://www.doe.go.th/prd/overseas/statistic (สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2561)
กระทรวง.(2559).ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). https://www.oie.go.th/sites (สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2561)
กิริยา กุลกลการ.(2553). แรงงานต่างด้าวกับการรักษาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
เครื่องนุ่งห่มไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 กันยายน 2553.
กุศล สุนทรธาดา.(2539). กระบวนทัศน์ใหม่ในการศึกษาระบบการย้ายถิ่นของแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่
ประเทศไทย. การประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2539, 21-22 พฤศจิกายน 2539.
จรินทร์ เทศวานิช. (2530). “ความหมายและความสำคัญของอุตสาหกรรม” เอกสารการสอนชุดวิชาทฤษฎี
และต้นทุนอุตสาหกรรม. นนทบุรี :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลชัย.(2528). “การอุตสาหกรรมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ” เอกสารการสอนชุดวิชาทฤษฎี
การพัฒนาและความจำเริญทางเศรษฐกิจ.นนทบุรี :สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมา
ธิราช.
เนาวรัตน์ พลายน้อย.(2530). สารศึกษาประชากร. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอักษรบัณฑิต.
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2535). การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย. กรุงเทพฯ.
ประดิษฐ์ ชาสมบัติ. (2013). ตลาดแรงงานอุตสาหกรรมภูมิภาค. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
ภาณี ชนาธิปกรณ์. (2537). แรงงานไทยในต่างประเทศ ใน สังคมไทย 2537. สำนักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ภาวดี ทองอุไทย. (2537). คนและงานวันพรุ่งนี้ ความท้าทายสำหรับแรงงานอุตสาหกรรมในค.ศ.2000. การสัมมนา
ทางวิชาการประจำปี 2537 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภัสสร ลิมานนท์ และเพ็ญพร ธีระสวัสดิ์.(2532). การย้ายถิ่นกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ เจริญเลิศ. (2538). แรงงานข้ามชาติ มิติทางด้านเศรษฐกิจ แรงงานกับสังคมไทยบนเส้นทางแห่งการพัฒนา กรุงเทพ: มูลนิธิอารมณ์ พงศ์พงัน.
วิกิพีเดีย. (2561). การย้ายถิ่นของประชากรโลก. https://th.wikipedia.org/wiki/(สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561).
ศรันยา บุนนาคและเสาวภา ชัยมุกสิก. (2526). การย้ายถิ่นของแรงงานไปยังประเทศสิงคโปร์ตามสัญญาจ้าง ระยะสั้น: สภาพปัญหา ผลกระทบ และสาเหตุ. ประชากรและโครงสร้างการพัฒนาประเทศไทย. งานวิจัยสนาม สิงหาคม 2525.
สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย และศุภจิตร มโนพิโมกษ์.(2538). การกระจายแหล่งอุตสาหกรรมกระจายความ
เจริญ หรือกระจายมลภาวะ. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2538 คณะ
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมาคมเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์. (2539). ทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2539 : อุตสาหกรรมไทยหลังปีสุริยคาส. เอกสาร
ประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2538 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2535). การสำรวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2535. กรุงเทพฯ
________________ . (2560). การสำรวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2559. กรุงเทพฯ
สถาบันวิจัยประชากรมหิดล และกองวางแผนทรัพยากรมนุษย์. (2523). รายงานการสัมมนานโยบายการย้าย
ถิ่นในประเทศไทย.
อภิชาต จำรัสฤทธิรงค์. (2538). “การย้ายถิ่นในประเทศ” เอกสารการสอนชุดวิชาประชากรและประชาวรรณา.
นนทบุรี:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ภาษาอังกฤษ
Akira Suehiro .(1989). Capital Accumulation in Thailand 1855-9. Tokyo: UNESCO The Center for
East Asian Cultural Studies.
E.G. Ravenstein.(1885). The law of Migration. Journal of the Royal Statistic Society. 48,2 (June
1885).
GoldStein, Sidney. (1967). Forms of mobility and their policy implication:Thailand and China
compared” Social Force. Vol. 65, No4.
Jerrold W. Huget.(2557). การย้ายถิ่นของประเทศไทย ฉบับปี 2557. คณะทำงานเฉพาะเรื่องแห่ง
สหประชาชาติว่าด้วยการย้ายถิ่นแห่งประเทศไทย.
Kuznet.S. (1965). Economic Growth of Nations. Cambridge: Haward University Press.
Lewis, W .Arthur. (1954). Economic development with unlimited supplies of labour” The
Manchester School of Economics and Social Studies. 22:139-191.
Lee, E. (1966). A Theory of Migration. Demography. 3:47-57.
Massey S. Arango, Hugo, Kouaouci. Pellegrino and Tay loy. (1993). Theory of International
Migration : A review and Appraisal. Population and Development Review. No.3
September 1993.
Piore, Michael. (1979). Birds of Passage: Migrant Labor and Industrial Societies. Population and
Development Review . Vol. 7, No. 3 (Sep., 1981), pp. 527-529.
Ranis, Gustav and J.C.H. Fei, (1961). A Theory of Economic Development. American Economic
Review. 51(4) : 533-563 .
Sjaastad,Larry A. (1962). The Cost and Return of Human Migration. Journal of Political Economy.
70(October) :80-93.
Todaro, Michel P.(1976). Internal Migration in Developing Countries. Geneva International Labour
Office.
---------------------------.(1997). Urbanization and rurai-urban migration: Theory and Policy. Economic
Development. Sixth Edition, Harrow-Addision Wesley Longman Limited.
Stark, Odd. J .(1984). Migration decision making: A review article. Journal of Development. 14:251-259