การวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุ่มอัญมณีและเครื่องประดับของไทย

Main Article Content

สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์
ประเสริฐ จรรยาสุภาพ
สุรชัย กังวล
สมเกียรติ ชัยพิบูลย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุ่มอัญมณีและเครื่องประดับของไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์การล้อมกรอบข้อมูล (Data Envelopment Analysis : DEA) ในการวิเคราะห์ข้อมูล   โดยสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุ่มอัญมณีและเครื่องประดับของไทยตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย (TSIC 2009) จำนวน 220 แห่ง ผลการวิจัยพบว่า วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับน้อย โดยวิสาหกิจขนาดกลางส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และระดับประสิทธิภาพน้อยที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 32.50 ตามลำดับ ส่วนวิสาหกิจขนาดย่อมฯ ส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพน้อย คิดเป็นร้อยละ 41.36  และมีค่าประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย VRS อยู่ระดับในปานกลาง คือ 0.5572 เมื่อพิจารณาผลตอบแทนต่อขนาดด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีภายใต้ข้อสมมติ VRS พบว่าผลตอบแทนต่อขนาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมฯ ส่วนใหญ่เป็นผลตอบแทนต่อขนาดด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่ลดลง (Decreasing Returns to Scale : DRS) รวมทุกระดับประสิทธิภาพด้านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีมีจำนวนถึง 140 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 63.64 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยการผลิต (Inputs) ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเมื่อนำเข้ามาในสัดส่วนหนึ่งแล้วก่อให้เกิดผลผลิต (Outputs) ออกมาในสัดส่วนที่น้อยกว่า รวมทั้งสะท้อนให้เห็นว่าการใช้ปัจจัยการผลิตยังมีความไม่เหมาะสมหรือไม่มีประสิทธิภาพนั่นเอง


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2560). ฐานข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรม ตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (ประเทศไทย) TSIC 2009. < http : //www.userdb.diw.go.th/results1.asp>
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2545). กฎกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องกำหนดจำนวนการจ้างงานและมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2545.
คมสัน ขจรชีพพันธุ์งามและวีรวุธ มาฆะศิรานนท์. (2555). คัมภีร์นักนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
จินตนาพร สุวรรณจันทร์ดี. (2548). การประเมิน ประสิทธิภาพการดำเนินงานโดยวิธี DEA กรณีศึกษาของบริษัทประกัน
สินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะเศรษฐศาสตร์.
ทวีป ศิริรัศมีและคณะ. (2547). ศาสตร์และศิลป์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับด้วยงานวิจัย.กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ธีรศักดิ์ กัญจนพงศ์. (2560). ขนาดองค์การและการรับนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีในประเทศไทย. TNI Journal of Business
Admonistration and Languages, 5(2) : 24.
นรวัฒน์ ชุติวงศ์ และณัฐสิทธิ์ เกิดศรี. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมในประเทศไทย, บริหารธุรกิจ. 34 (130) : 48 ; เมษายน – มิถุนายน.
บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประสพชัย พหุนนท์. (2551). การประเมินประสิทธิภาพองค์กรด้วยวิธี DEA : การเรียงลำดับประสิทธิภาพของตัวแบบ CCR และตัวแบบ BCC , บริหารธุรกิจ.31(120) : 51 ; ตุลาคม – พฤศจิกายน.
พิสณุ ฟองศรี. (2553). การเขียนรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์.กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.
พสุ เดชะรินทร์. (2556). ความสำคัญของนวัตกรรมในการแข่งขันยุคใหม่.2546.
พยัต วุฒิรงค์. (2555). การจัดการนวัตกรรมจากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก ธนาคารออมสิน. (2560). รายงานประมาณการการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทย (GDP) ปี2560. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
สุกัลยา ธรรมรักษาและคณะ. (2553). โครงการจัดทำสำมะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่องประดับไทย, วิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.30(1) : 75.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรายสาขา
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ : ม.ป.ป.
_________. (2560). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.
สมคิด แก้วทิพย์ และ กฤษดา ภักดี. (2556). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสหกรณ์
การเกษตรในภาคเหนือตอนบน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์และคณะ. (2553). นวัตกรรม ความหมาย ประเภทและความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการบริหารธุรกิจ. 33 (128) : 52.
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ. (2552). โครงการจัดทำสำมะโนอุตสาหกรรมอัญมณีและ
เครื่องประดับไทย. กรุงเทพฯ.
สุภาวดี ขุนทองจันทร์. (2553). การศึกษาผลลัพธ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ดำเนินธุรกิจด้วยหลักการเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาธุรกิจที่ส่งผลงานเข้าประกวดตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. 2(4) : 113 ; กรกฎาคม – ธันวาคม .
อรรถพล สืบพงศกร. (2555). ระเบียบวิธีการของ Data Envelopment Analysis (DEA) และการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิค. CMU Journal of Economics, 16(1). 43-82.
อัครพงศ์ อั้นทอง. (2547). คู่มือการใช้ DEAP 2.1 สำหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้วยวิธีการ Data Envelopment Analysis. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Akroush, M. (2008). Exploring the mediation effect of service quality implementation on the relationship between service quality and performance in the banking industry in Jordan , An International Journal of Management, 10(1),98-122.
Banker, R.D; Charnes, A. and Cooper W.W. (1984). Models for Estimating of Technical and Scale Inefficiencies in Data Envelopment Analysis. Management Science. 30 : 1678-1692.
Charnes, A., Cooper, W.W and Rhodes,E. (1978). Measuring the efficiency of decision making unit. European Journal of Operational Research, 2(6), 429-444.
Charnes A, Cooper, W.W., Lewin, A.Y and Seiford, L.M. (1994). Data envelopment analysis: theory, methodology and application. Boston : Kluwer Academic Publishers.
Coelli, Timothy J., Rao, D.S. Prasada.; O’Donnel.; Cristopher J. and Battese, George.E. (1998). An Introduction to Efficiency and Productivity Analysis. Boston : Kluwer Academic Publishers.
Farrell,M.J. (1957). The measurement of Productive Efficiency. Journal of the Royal Statistical Society, A(120), 253-290.
Lin, Yun. (2011). The Efficiency Study of Regional Technological Innovation : Based on Provinces Level. Energy Procedia, (5),1579-1583.
Mentz, J.C. (1999). Defining Technological Innovation. สืบค้น 9 กันยายน 2560, จาก https://www.repository.up.ac.za>handle.
OECD. (2013). Glossary of Statistical Terms : Technological Innovations. สืบค้น 19 เมษายน 2560, จาก https://www.stats.oecd.org/glossary/detail.asp?ID=2688.
Stock, G.N., Greis N.P. and Fischer W.A. (2002). Firm Size and Dynamic Technological Innovation, Technovation, 22,537-549.
Xiaomian, Hu. (2010). Study on Regional Technical Innovation Efficiency Discrepancy and Its Influential Factors. Proceedings of the 7th International Conference on Innovation & Management., 449-452.
Xiaofeng, yu. and Renyong, Chi. (2006). Enterprise Technological Innovation Efficiency and Its Affecting Fators. The
Eighth West Lake International Conference on SMB.
Yamane, T. (1973). Statistics : An Introductory Analysis. (3rd ed). New York : Harper and Row.