การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและผลตอบแทนทางการเงินในการลงทุนปลูก พืชเศรษฐกิจในภาคตะวันออก

Main Article Content

พรรณิภา อนุรักษากรกุล
ณรงค์ พลีรักษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้้ามัน และวิเคราะห์ผลตอบแทนการทางการเงินในการลงทุนปลูกยางพาราและปาล์มน้้ามันที่อยู่ในเขตเหมาะสมมากและไม่เหมาะสมในภาคตะวันออก ประกอบด้วยจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้้ามัน ในช่วงปี พ.ศ. 2548-2552 และช่วงปี พ.ศ. 2552-2556 พบว่า รูปแบบที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ การเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่อื่น ๆ มาเป็นพื้นที่ปลูกยางพารา จังหวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือจังหวัดระยอง คิดเป็นพื้นที่ 625,872.07 ไร่ และจังหวัดจันทบุรีเท่ากับ 295,287.89 ไร่ ตามล้าดับ ผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุนปลูกยางพาราในเขตเหมาะสมมากเปรียบเทียบกับเขตไม่เหมาะสม จังหวัดระยองและจันทบุรีในเขตไม่เหมาะสมมีความคุ้มค่าทางการเงินมากกว่า ส่วนจังหวัดตราดในเขตเหมาะสมมากมีความคุ้มค่าทางการเงินมากกว่า ผลการวิเคราะห์ทางการเงินของการลงทุนท้าสวนปาล์มน้้ามัน พบว่า จังหวัดระยองในเขตพื้นที่เหมาะสมมากมีความคุ้มค่าทางการเงินมากกว่า ในขณะที่การลงทุนท้าสวนปาล์มน้้ามันจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราดพบว่าการลงทุนท้าสวนปาล์มน้้ามันทั้งในเขตเหมาะสมมากและในเขตไม่เหมาะสมไม่มีความคุ้มค่าทางการเงิน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2556). เขตความเหมาะสมสาหรับการปลูกข้าวมันสาปะหลังยางพารา ปาล์ม
น้ามัน อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2556, จาก
http://www.moac.go.th/ewt_news.php?nid=10804&filename=index
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2557). คู่มือการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแนวทางการบริหาร
จัดการพื้นที่เกษตรกรรม.
จรินทร์ศรี ธรณนพเก้า. (2544). การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุนระหว่างการ
ปลูกยางพาราและปาล์มน้ามัน ในอาเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิราภรณ์ ช่วยเมือง. (2550). การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนระหว่างปลูก
ยางพาราและปาล์มน้ามัน ในอาเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จีรเกียรติ อภิบุณโยภาส. (2533). การวิเคราะห์โครงการลงทุนในการเกษตร,กรุงเทพฯ: ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
เกษตร คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชูชีพ พิพัฒน์ศิถี. (2540). เศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์โครงการ, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
คณะเศรษฐศาสตร์,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นัยนา หลงสะ. (2546). การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลตอบแทนทางการเงินของการลงุทนระหว่างผู้ปลูกปาล์ม
น้ามันและยางพาราใน อาเภอสิเกา จังหวัดตรัง, วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
เศรษฐศาสตร์เกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เรวัตร ธรรมาอภิรมณ์. (2543). เศรษฐสถิติ, กรุงเทพฯ:ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิชชุดา เดชวรวิทย์. (2544). การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงินของการปลูกปาล์มน้ามันเปรียบเทียบกับ
ยางพาราในอาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
เกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศูนย์สารสนเทศการเกษตร. (2556). โครงการกาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจสาหรับสินค้าเกษตรที่สาคัญ 2556.
สมศักดิ์ เพรียบพร้อม. (2531). การจัดการฟาร์มประยุกต์,กรุงเทพฯ: ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และทรัพยากรคณะ
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมาคมยางพาราไทย. (2556). ผลผลิตยางธรรมชาติของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2556 จาก
http://www.rubberthai.com/statistic/stat_index.htm
สมาคมยางพาราไทย. (2556). ปริมาณและมูลค่าการส่งออกยางธรรมชาติ ปี 2550-2555. สืบค้นเมื่อ 15
พฤษภาคม 2556 จาก http://www.thainr.com/th/detail-stat.php?statID=218
การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและผลตอบแทนทางการเงินในการลงทุนปลูกพืชเศรษฐกิจ
ในภาคตะวันออก
71
สานักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี. (2554). ข้อมูลการเกษตรจังหวัด,สานักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี จังหวัดชลบุรี.
(อัดสาเนา).
สานักงานพาณิชย์จังหวัดชลบุรี. (2556). ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าจังหวัด (Factsheet). สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน
2556, จาก http://pcoc.moc.go.th/wappPCOC/views/dfactsheet.aspx?pv=20
สานักงานการค้าภายในจังหวัดสงขลา. (2557). สถิติราคาปาล์มน้ามันจังหวัดสงขลา. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม
2557, จาก http://www.dit.go.th/Songkhla/contentdet.asp?deptid=74&id=3083
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2553). สถิติการค้าสินค้าเกษตรกรรมไทยกับต่างประเทศ ปี 2553,กรุงเทพฯ:
สานักงานฯ.
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2554). มูลค่าส่งออกและนาเข้าสินค้าเกษตรรายเดือน. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน
2556,จาก http://www. oae.go.th/oae_report/export_import/export_import_result.php
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2554). แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2556, จาก
http://www.oae.go.th/download/document_plan/planAgi11_Sep55.pdf
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2556). เนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2554. สืบค้นเมื่อ
9 มิถุนายน 2556,จากhttp://www.oae.go.th/more_news.php?cid=262
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร.(2556). ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน 2556,จาก
http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=13577
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2556). พระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตร. สืบค้นเมื่อวันที่
12 มิถุนายน พ.ศ. 2556, จาก http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=45&filename=index
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Agricultural zoning). สืบค้นเมื่อวันที่ 1
พฤษภาคม 2556,จาก http://www.oae.go.th/main.php?filename=index
อรัญญา ศรีวิโรจน์. (2554). วิกฤติน้ามันปาล์ม: บทเรียนจากนโยบายควบคุมของภาครัฐ. FAQ Focus and
Quick 23.
Araya, A., Keesstra, S.D. and Stroosnijder, L. (2010). A new agro-climatic classification for crop
suitability zoning in northern semi-arid Ethiopia. Agricultural and Forest Meteorology
150(7-8), 1057–1064.
Nackoney, J., Rybock, D., Dupain, J. and Facheux, C. (2013). Coupling participatory mapping and
GIS to inform village-level agricultural zoning in the Democratic Republic of the Congo.
Landscape and Urban Planning110, February 2013, 164–174.
Xu, X., Hou, L., Lin, H., and Liu, W. (2006). Zoning of sustainable agricultural development in
China. Agricultural Systems 87(1), 38–62