ผลกระทบของการดาเนินนโยบายพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรีต่อประชาชนตาบลบ้านเก่า
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการดาเนินนโยบายพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรีและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบจากการดาเนินนโยบายพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินนโยบายพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านเก่า จานวน 6 ราย และสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญจากผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ตาบลบ้านเก่า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 100 ราย ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบที่เกิดจากการดาเนินนโยบายพื้นที่พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรีโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม มากน้อยตามลาดับ และพบว่าผลกระทบดังกล่าวบางด้านมีความแตกต่างกันตามการจาแนกปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมของผู้ให้ข้อมูลแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบของการดาเนินนโยบายพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี ได้แก่ซึ่งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนควรมีส่วนร่วมกันแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์อบรมฝีมือแรงงาน การสารวจและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและร้านค้าปลอดภาษี การจัดสรรที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและที่ดินทากินให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง กาหนดมาตรการจัดการกับผู้ประกอบการที่สร้างผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและมาตรการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบ การพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเมียนมาเพื่อพัฒนาการค้าชายแดนร่วมกัน รวมทั้งการพัฒนาทุนทางสังคมในพื้นที่ให้มีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่เกิดขึ้น
Article Details
สงวนลิขสิทธิ์ © 2553 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดพิมพ์วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ นโยบายสารธารณะ และสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน โดยบทความที่ได้รับการตอบรับจะถือเป็นลิขสิทธิ์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐญา ประไพพานิช
References
กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และคณะ. 2557. กำรบริหำรควำมเสี่ยงอย่ำงมืออำชีพ พิมพ์ครั้งที่ 2 สานักพิมพ์แมค
กรอ ฮิล
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (19 มกราคม 2558). ประกำศคณะกรรมกำรเขตพัฒนำ
เศรษฐกิจพิเศษที่ 1/2558 เรื่อง กำหนดพื้นที่เขตพัฒนำเศรษฐกิจพิเศษ
คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (24 เมษายน 2558). ประกำศคณะกรรมกำรเขตพัฒนำ
เศรษฐกิจพิเศษที่ 2/2558 เรื่อง กำหนดพื้นที่เขตพัฒนำเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่สอง
คาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 72/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรนโยบำยเขตพัฒนำเศรษฐกิจ
พิเศษ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอน 120 ง พิเศษ หน้า 11-12 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557
จินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์. 2551. “การประเมินผลนโยบายสาธารณะ”.ใน เอกสำรกำรสอนชุดวิชำนโยบำย
สำธำรณะและกำรวำงแผน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี. แผนพัฒนำจังหวัดกำญจนบุรี 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) [ออนไลน์].
[เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://kanchanaburi.go.th/au/content/merged_
document_33.pdf
เชียรช่วง กัลยาณมิตรและคณะ. มิถุนายน 2558. เอกสำรประกอบกำรสัมมนำโครงกำรประชุมสัมมนำกำหน
ดกรอบกำรทำงำนในกำรจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษตำมนโยบำยของรัฐบำลประจำปีงบประมำณ
2558. ที่ทาการปกครองจังหวัดหนองคาย
พิทยา สุวคันธ์และคณะ. 2559.ผลกระทบกำรเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด (ไทย)– เขตเศรษฐกิจพิเศษเมีย
วดี (เมียนมำ) ภำยใต้กรอบประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน.วิทยาลัยสหวิทยาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศูนย์ลาปาง
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. 2550. นโยบำยสำธำรณะ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
_________________. 2551. กำรนำนโยบำยไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ 9 (18) : 72 - 90
ปีที่ 9 ฉบับที่ 18 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561
90
สมบัติ ธารงธัญวงศ์. 2560.นโยบำยสำธำรณะ: แนวควำมคิด กำรวิเครำะห์ และกระบวนกำร.พิมพ์ครั้งที่ 29.
กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์)อรรถมานะ. 2550. พฤติกรรมองค์กำร ทฤษฎีและกำรประยุกต์.พิมพ์ครั้งที่ 4
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา.2558.แนวทำงและมำตรกำรเพื่อกำรพัฒนำเขตเศรษฐกิจ
พิเศษบริเวณพื้นที่แนวชำยแดนของไทย. นนทบุรี สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจากัด
องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านเก่า,จานวนหมู่บ้านประชากร[ออนไลน์]. [เข้าถึงเมื่อ1สิงหาคม 2559]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.bankaokan.go.th/about
อรุณี อ่อนสวัสดิ์. 2551. ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
นเรศวร.
Cronbach, L. J. 2004. My current thoughts on coefficient alpha and successor procedures.
Educational and Psychological Measurement, 64.
Dye, Thomas R. 1984. Understanding Public Policy. (5th ed). Englewood Cliffs. New Jersey:
Prentice -Hall, Inc
Likert, Rensis A. 1961. New Patterns of Management. New York: McGraw-Hill Book Company Inc
Vidya Bhushan Rawat, MamadiBharathBhusan and SujathaSurepally. 2011. The impact of
Special Economic Zones in IndiaA case study of Polepally SEZ. The Commercial
Pressures on Land Coalition.