เศรษฐศาสตร์แห่งความงาม ว่าด้วยการลดน้ำหนักและการดูแลสุขภาพตามแนวทางเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม

Main Article Content

โซร์ฟีนา เด่นสุมิตร

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ภายใต้กรอบมุมมองแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม โดยอาศัยข้อมูลจากผลการทดลองทางเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม ผ่านการนำมาประยุกต์ใช้ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินและการออกกำลังกาย จากผลการศึกษาพบว่า การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ถือเป็นตัวช่วยให้เราเข้าใจตัวเองและความลึกลับซับซ้อนที่เราต้องพบเจอในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าอะไรที่ขับเคลื่อนการตัดสินใจและพฤติกรรมของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พฤติกรรมการกินและการดูแลสุขภาพ เพื่อค้นพบวิธีปรับปรุงการตัดสินใจของเราให้ดียิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารอ้างอิงภาษาไทย
นะงุโมะ, โยะชิโนะริ. (2557). ยิ่งหิวยิ่งสุขภาพดี (พิมพ์รักษ์ สุขสวัสดิ์, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: วีเลิร์น.
อยู่ดี, ชิน. (2531). “ข้าว: จากหลักฐานโบราณคดีในไทย” ข้าวไพร่-ข้าวเจ้า ของชาวสยาม. กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรม.
Ariely, Dan. (2555). เหตุผลที่ไม่ควรมีเหตุผล (พรเลิศ อิฐฐ์ และ วิโรจน์ ภัทรทีปกร, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: วีเลิร์น.
Ariely, Dan. (2557). พฤติกรรมพยากรณ์ (พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: วีเลิร์น.

เอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษ
Ariely, Dan and Wertenbroch, Klaus. (2002). Procrastination, Deadlines, and Performance: Self-Control by Precommitment. Psychological Science. Vol. 13, No. 3, pp. 219-224.
Lofgren, Ingrid Elizabeth. (2015). Mindful Eating: An Emerging Approach for Healthy Weight Management. American Journal of Lifestyle Medicine. pp. 212-216. Retrieved November 10, 2019, from https://www.researchgate.net/publication/273349293_Mindful_Eating.