มูลค่ารายการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ต่อความไม่เท่าเทียมด้านรายได้ และความยากจนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามูลค่ารายการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ต่อความไม่เท่าเทียมด้านรายได้ และความยากจนในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นรายไตรมาส สำหรับตัวแปรความไม่เท่าเทียม และความยากจน ถูกวัดผ่านค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) และสัดส่วนคนจนด้านรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค ขณะที่การวิเคราะห์ใช้แบบจำลองการถดถอยเชิงพหุคูณ ( Multiple Regression Analysis) โดยประมาณค่าด้วยวิธีการกำลังสองน้อยที่สุด(Ordinary Least Square: OLS)
ผลการศึกษาหลักพบว่าการเพิ่มขึ้นของมูลค่ารายการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ช่วยลดความไม่เท่าเทียมด้านรายได้ ในขณะที่การเพิ่มขึ้นของมูลค่ารายการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) ไม่ส่งผลต่อความยากจน สำหรับตัวแปรอื่น ๆ การเพิ่มของดัชนีการพัฒนามนุษย์ เสถียรภาพของรัฐบาล งบประมาณใช้จ่ายด้านการศึกษาของรัฐบาล และสินเชื่อที่ธนาคารให้แก่ภาคเอกชน ส่งผลให้ความไม่เท่าเทียมลดลงเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของการลงทุนสุทธิจากต่างประเทศส่งผลให้ความไม่เท่าเทียม และความยากจนลดลงอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นของมูลค่ารายการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Banking) มีส่วนช่วยในการลดความไม่เท่าเทียมด้านรายได้ แต่ทั้งนี้พบว่าไม่สามารถลดความยากจนได้ เนื่องจากอาจมีข้อจำกัดที่ทำให้กลุ่มคนจนไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการเงิน ดังนั้นเพื่อให้การเข้าถึงบริการทางการเงินมีประสิทธิภาพ และครอบคลุม แผนพัฒนาระบบการชำระเงินระยะต่อไปจึงควรคำนึงถึงกลุ่มคนจนมากยิ่งขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนลิขสิทธิ์ © 2553 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดพิมพ์วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ นโยบายสารธารณะ และสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทัศนะและข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน โดยบทความที่ได้รับการตอบรับจะถือเป็นลิขสิทธิ์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐญา ประไพพานิช
References
กฤษดา หิรัญสิ. (2560). ก้าวแรก "แนวคิดการธนาคารที่ยั่งยืน". สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2563 จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_12Jul2017.pdf
ชัญญาพัทธ์ จงทวี. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึ่งพอใจในการใช้บริการ Mobile Banking ในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563, จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5702030510_3552_1909.pdf
ณัฐปสร์ ดาราพงษ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับ Mobile Banking. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563, จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5904010591_8826_9286.pdf
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2563). ทุนมนุษย์ การเลือกอาชีพ และความเสี่ยงที่จะเป็นคนจน. วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 6(11), 38-60. สืบค้น 25 กรกฎาคม 2563, จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/econswu/article/view/75010
ทรรศนีย์ ศรีนวล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการไหลเข้าของเงินทุนในหลักทรัพย์ของภาคเอกชนต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2563, จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/392/1/tassanee_srin.pdf
ทวีพงศ์ สู่สวัสดิ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึ่งพอใจของการให้บริการ Mobile Banking ของธนาคารออมสิน (MYMO) และธนาคารกสิกรไทย (K-PLUS) ในจังหวัดเพชรบุรี. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2563, จาก http://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/948/fulltext_is_18.pdf?sequence=1&isAllowed=y
ทวีศักดิ์ มานะกุล.(2555). โอกาสการเข้าสู่ตลาดการเงินไทยของผู้ประกอบการ Microfinance. วารสารการเงินการคลัง, 24(73), 73-
77. สืบค้น 25 ตุลาคม 2563, จาก http://www2.fpo.go.th:81/FIDP/Source/Article/Source/data/article06.pdf
ธนพล กองพาลี. (2563). สังคมไทย(กำลัง)ไร้เงินสด ? . สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/Pages/FAQ169.aspx
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทยระยะที่ 3. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/Highlights/FSMP3/FinancialSectorMasterPlanIII.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). Fintech กับการลดปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256203TheKnowledge_PovertyGap.aspx
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). ธนาคารเพื่อความยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2563, จาก https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2561/oct2561-2.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). สถิติการใช้บริการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2563, จากhttps://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=688&language=th
นลิตรา ไทยประเสริฐ. (2554). การลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจโดยมาตรการทางการคลัง โครงการวิจัย "การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อความเป็นธรรมในสังคม". (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)). สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2563, จาก file:///C:/Users/ACER/Downloads/Policy-Brief-2-7.pdf
พนมกุณาวงค์ ภัคชูชื่น. (2557). ระดับการยอมรับของลูกค้าต่อการประชาสัมพันธ์ของ การประปาส่วนภูมิภาคสาขาเชียงใหม่. (การค้นคว้าอิสระ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2563, จาก http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39966
พัชีระ เจริญพร. (2558). เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศจะเป็นปัจจัยผลักดันเศรษฐกิจในปี 2558 ได้หรือไม่ ? (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพมหานคร: โครงการติดตามประเด็นเศรษฐกิจไทย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2563, จาก http://www.tef.econ.tu.ac.th/wp- content/uploads/2015/03/03_TEF-Final-paper.pdf
มนตรี พิริยะกุล. (2544). ข้อตกลงการถดถอยและกระบวนการวิเคราะห์การถดถอย. วารสารรามคำแหง มหาลัยรามคำแหง, 30(2),
67-81. สืบค้น 15 กันยายน 2563จาก http://www.research.ru.ac.th/images/ArticleMr/1501824102_Article.pdf
มนัสชนก รัตนธรรมาภรณ์ และอิศรา ศานติศาสน์. (2545). ผลของการว่างงานและเงินเฟ้อต่อความไม่เท่าเทียมกันในรายได้และ
ความยากจน (วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2563, จาก
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24785?fbclid=IwAR0FI7mgZUUFmslUlzrcTmF8RUhrvL_Vpjg2
ATKO17JdGgyadHcK_dujF80
วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์. (2560). เครื่องมือใหม่ในการวิเคราะห์ความเหลื่อมล้ำทางรายได้. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์,
35(2), 30-48. สืบค้น 25 ตุลาคม 2563, จาก http://www.tej.econ.tu.ac.th/TUEconJournal.
วราพร งามสุข. (2555). การพยากรณ์อนุกรมเวลาโดยการเปรียบเทียบวิธีแบบฉบับและวิธีบอกซ์-เจนกินส์กรณีศึกษาจำนวนการเกิดอุบัติเหตุในประเทศไทย ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2563, จาก http://www.lib.buu.ac.th/st/ST0002619.pdf
วิรไท สันติประภพ. (2562). ฟินเทคเพื่อ เพิ่มผลิตภาพ-ลดความเหลื่อมล้ำบริการทางการเงิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักข่าวอิสรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563, ค้นจาก https://www.isranews.org/isranews-article/78638-money78638.html?fbclid=IwAR3J1csrM8G1s__
วุฒิ สุขเจริญ. (2558). การดำเนินการกับข้อมูลขาดหาย คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยี-ญี่ปุ่น. วารสารร่มพฤกษ์ มหาลัยเกริก, 33(2), 12-32. สืบค้น 5 ตุลาคม 2563, จาก file:///C:/Users/ASUS/Downloads/62701-Article%20Text-145744-1-10-20160716.pdf
ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2559). คุณภาพชีวิตของคนไทย : นัยจากดัชนีการพัฒนามนุษย์. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,
31(4), 46-54. สืบค้น 20 กันยายน 2563, จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw09.pdf
ศุภชัย ศรีสชาติ. (2559). การศึกษาการกระจายประโยชน์ของงบประมาณภาครัฐด้านการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 20 กัยายน 2563, จาก https://www.pier.or.th/wpcontent/uploads/2016/03/workshop2016_paper4_Supachai.pdf
สุรีย์พร. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการผ่าน Mobile Banking Application ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). คณะพาณิชย์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563, จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/TU_2015_5702031468_2848_1751.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความ
ไม่เท่าเทียมของประเทศไทยปี 2562. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2563, จาก http://social.nesdc.go.th/social/Portals/0/_รายงานยากจนเหลื่อมล้ำปี2562_final2.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สถิติด้านการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2563, จาก
https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=social
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สถิติด้านความยากจนและการกระจายรายได้. สืบค้นเมื่อ 7
เมษายน 2563, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=social
อรอนงค์ ทวีปรีดา. (2559). การกระจายความเท่าเทียมของโอกาสทางการศึกษาและบทบาทการใช้จ่ายของรัฐ ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563, จาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5404030206_3859_4966.pdf
อัจฉริย์ อนธนารักษ์. (2562). บริการทางการเงินเข้าถึงได้ ใช้สะดวก เชื่อมโยงอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2563,
จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_04Feb2019.asp
x?fbclid=IwAR3F0dBPTEoRXyKlf_Z0LvilfYJTivHPyLb5qpi6lu3N862s9Ljqf_QLh6I
อารยะ ปรีชาเมตตา. (2562). ดัชนีว่าด้วยการพัฒนาคน: HDI กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก
https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/646287
Davis, F. D. (1989). Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology.
MIS Quarterly, 13(3),319-340. doi:10.2307/249008 Retrieved Otc 9 2020, from
https://www.jstor.org/stable/249008?seq=1
Klapper, L. (2018). How mobile money can help reduce poverty. United Nations: International Telecommunication
Union. Retrieved Apr 15 2020, from https://news.itu.int/mobile-money-
poverty/?fbclid=IwAR1E6%206t0FpGLSxD_68C44TEwJbohesGzLM45eTfnMg7MM0JfllBWmcfCjtc
International Country Risk Guide (ICRG, 2017). TABLE 3B: Researcher's Dataset Government Stability. Retrieved Apr 7
2020, from https://dataverse.harvard.edu/dataset.xhtml?persistentId=doi:10.7910/DVN/4YHTPU
Medhi I., Ratan A., Toyama K. (2009) Mobile-Banking Adoption and Usage by Low-Literate, Low-Income Users in the
Developing World. In: Aykin N. (eds) Internationalization, Design and Global Development, 485-494
Retrieved Otc 9 2020, from https://link.springer.com/chapter/10.1007/978-3-642-02767-3_54#citeas
Mlachila, M., Tapsoba, R., & Tapsoba, S. J. A., (2014). “A Quality of Growth Index for Developing Countries: A Proposal”, Social Indicators Research DOI: 10.1007/s11205-016-1439-6. Retrieved Mar 7 2020, from https://www.imf.org/external/pubs/ft/wp/2014/wp14172.pdf
Mlachila, M., Tapsoba, R., and S. J. A. Tapsoba. (2017). “A Quality of Growth Index for Developing Countries: A Proposal”, Social Indicators Research , 134( 2) , 675–710. DOI: 10.1007/s11205-016-1439-6 Retrieved Mar 7 2020, from https://link.springer.com/article/10.1007/s11205-016-1439-6?shared-article-renderer
Njoya, W. (2015). Inequality and Poverty. United Kingdom: Higher Education Academy. Retrieved Sep 23 2020, from https://www.wanjirunjoya.com/home/inequality-and-poverty?
Odhiambo, N.M. (2010). Financial deepening and poverty reduction in Zambia: an empirical
investigation. International Journal of Social Economics, 37(1), 41–53. Retrieved Oct 5 2020, from
https://econpapers.repec.org/article/emeijsepp/v_3a37_3ay_3a2009_3ai_3a1_3ap_3a41-53.htm
Rohwerder, B. (2016). Poverty and Inequality: Topic guide. Birmingham, UK: GSDRC, University of Birmingham.
Retrieved Oct 5 2020, from https://gsdrc.org/topic-guides/poverty-and-inequality/
Simplice, A. Asongu & Nicholas M, Odhiambo. (2017). Mobile banking usage, quality of growth, inequality and poverty in developing countries. African Journal of Science, Technology,Innovation and Development, 35(2), 303-318. https://doi.org/10.1177/0266666917744006
Simplice A. Asongu & Nicholas M. Odhiambo. (2018) Human development thresholds for inclusive mobile banking in developing countries. African Journal of Science, Technology, Innovation and Development, 10(6), 735-744. DOI: 10.1080/20421338.2018.1509526
United Nations Development Programme.(2020). Human Development Data (1990-2018). Retrieved Apr 7 2020, from
http://hdr.undp.org/en/data
Word Bank. (2020). Domestic credit to private sector by banks (% of GDP). Retrieved Apr 7 2020, from
https://data.worldbank.org/indicator/FD.AST.PRVT.GD.ZS?end=2019&locations=TH&start=2010
Word Bank. (2020). Foreign direct investment, net inflows (% of GDP). Retrieved Apr 7 2020, from
https://data.worldbank.org/indicator/BX.KLT.DINV.WD.GD.ZS?end=2019&locations=TH&start=2010