การสานต่ออาชีพเกษตรกรของทายาทในจังหวัดเพชรบูรณ์: ปัจจัย แนวโน้ม และการพัฒนาเชิงนโยบาย

Main Article Content

Ronnakron Kitipacharadechatron

บทคัดย่อ

            การศึกษาครั้งนี้มีเป้าประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย แนวโน้ม และการพัฒนาเชิงนโยบาย ของการสานต่ออาชีพเกษตรกรของทายาทในจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งทำการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 220 รายด้วยวิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย และวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยหลักสถิติเชิงพรรณนาเพื่อสรุปภาพรวมของกลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ยังได้ทำการชี้วัดปัจจัยด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทำนายแนวโน้มการสานต่ออาชีพด้วยการวิเคราะห์ความชุกของอุบัติการณ์ เพื่อนำหลักฐานที่ปรากฏจากการศึกษาไปเสนอแนะแนวทางการพัฒนานโยบาย ผลการศึกษาพบว่า นโยบายส่งเสริมภาครัฐ นโยบายส่งเสริมเศรษฐกิจ การส่งเสริมจากสังคมและค่านิยม การส่งเสริมด้านเทคโนโลยีการเกษตร และ การส่งเสริมด้านกฎหมายและข้อบังคับ มีผลสนับสนุนต่อการสานต่ออาชีพเกษตรกรของทายาท ขณะที่พบว่าการส่งเสริมจากสิ่งแวดล้อมการเกษตรให้ผลลัพธ์ในทางกลับกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Alimirzaei, E., & Asady, A. (2011). Individual Factors Affecting Farmers’ Motivation to Participate in Date Growers’ Organizations in

Khuzestan. Research Journal of Applied Sciences, Engineering and Technology, 3(8), 725-730.

Bollen, K. A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. New York: Wiley.

Defrancesco, E., Gatto, P., Runge, F., & Trestini, S. (2008). Factors Affecting Farmers’ Participation in Agri‐environmental Measures: A

Northern Italian Perspective. Journal of Agricultural Economics, 59(1), 114-131.

Dessart, F. J., Barreiro-Hurlé, J., & van Bavel, R. (2019). Behavioural Factors Affecting the Adoption of Sustainable Farming Practices: A

Policy-oriented Review. European Review of Agricultural Economics, 46(3), 417-471

Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G* Power 3: A Flexible Statistical Power Analysis Program for The Social,

Behavioral, and Biomedical Sciences. Behavior Research Methods, 39(2), 175-191.

Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cut-off Criteria for Fit Indexes in Covariance Structure Analysis: Conventional Criteria Versus New

Alternative. Structural Equation Modelling, 6(1), 1-55.

Joreskog, K. D., & Sorbom, D. (1989). LISREL 7: User’s Reference Guide. Chicago: Scientific Software International.

Mignouna, D. B., Manyong, V. M., Rusike, J., Mutabazi, K. D. S., & Senkondo, E. M. (2011). Determinants of Adopting Imazapyr-resistant

Maize Technologies and Its Impact on Household Income in Western Kenya. AgBioForum, 14(3), 158-163.

Teklewold, H., Kassie, M., & Shiferaw, B. (2013). Adoption of Multiple Sustainable Agricultural Practices in Rural Ethiopia. Journal of

Agricultural Economics, 64(3), 597-623.

Zhou, S., Herzfeld, T., Glauben, T., Zhang, Y., & Hu, B. (2008). Factors Affecting Chinese Farmers' Decisions to Adopt a Water‐saving

Technology. Canadian Journal of Agricultural Economics/Revue Canadienne D'agroeconomie, 56(1), 51-61.

จักรพงษ์ พวงงามชื่น รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ และ ทองเลียน บัวจูม. (2563). เหตุจูงใจในการประกอบอาชีพ เกษตรกรหลังการศึกษาของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 17(3), 135-156.

ฉัตรชัย ชูนพรัตน์ พัฒนา สุขประเสริฐ เมตตา เร่งขวนขวาย และสุวิสา พัฒนเกียรติ. (2564). ปัจจัยด้านแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้และการปฏิบัติตามการ

ปลูกข้าวของเกษตรกร จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 8(2), 505-524.

ฐิติมา จันทร์หอม สุรพล เศรษฐบุตร จุฑาทิพย์ เฉลิมพล และ พรสิริ สืบพงษ์สังข์. (2562). แรงจูงใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการประกันภัยพืชผลการเกษตร

ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดเชียงใหม่. วารสารเกษตร, 35(1),137-146.

ณัฐวุฒิ เกิดรัตน์ และ จักรพันธ์ สุขสวัสดิ์. (2565). การยอมรับการใช้สารสกัดสมุนไพรในเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อ: การประยุกต์ใช้แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี.

วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 9(1), 36-49.

ปาริฉัตร รุ่งเรืองณัฐกุล บัญชา สมบูรณ์สุข อยุทธ์ นิสสภา และ ปองพชร ธาราสุข. (2562). ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการ เข้าสู่การ เป็นเกษตรกรอัจฉริยะของ

เกษตรกรชาวสวนยางพาราอำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(2), 159-180.

พิบูล ทีปะปาล. (2555). การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์

ศันสนีย์ กระจ่างโฉม สุดารัตน์ อุทธารัตน์ ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์ และ อุบลรัตน์ หยาใส่. (2559). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ แรงจูงใจ ของทายาทเกษตรกรในการสานต่อ

อาชีพเกษตรในอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 32(1), 29-38.

ศิริเกษ กสิการ และ ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ (2559) ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบในการผลิตพืชอาหารที่มีการรับรองคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัย:

ศึกษากรณีผู้ว่าจ้างผลิตภายใต้ระบบเกษตรพันธสัญญา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 5(1), 621-636.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. สำนักพิมพ์ บริษัท ธีรฟิล์ม และไซเท็ก จำกัด: กรุงเทพฯ

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช. (2563). รายงานเศรษฐกิจการเกษตรประจำปี 2563. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2565. จาก

https://www.opsmoac.go.th/nakhonsithammarat-download-publications

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2564). รายงานประจำปีของสำนักงานเศรษฐกิจเกษตร ประจำปี 2564. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2565, จาก

https://www.oae.go.th/view/1/เอกสารเผยแพร่/TH-TH

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2565, จาก

https://www.nesdc.go.th/more_news.php?cid=74

สุนันทา ศรีรัตนา จักรพงษ์ พวงงามชื่น นคเรศ รังควัต และ พุฒิสรรค์ เครือคำ. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบใน การตัดสินใจประกอบอาชีพเกษตรกรรมหลัง

สำเร็จการศึกษาของนักศึกษาเกษตร ภาคเหนือตอนบน. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(3), 169-183.

สุริยะ หาญพิชัย และ พีรพล ไทยทอง. (2661). การพัฒนาชาวนาไทยรุ่นใหม่เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย.

วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5(2), 1-16.