วิจัย พฤติกรรมการใช้จ่ายออนไลน์ในช่วงโปรโมชัน

Main Article Content

Thinnatcha Trikanchanapitak

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ในช่วงโปรโมชั่น (Double day) 2) เพื่อสะกิดให้ผู้บริโภคหันมาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการช้อปปิ้งออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาเครื่องมือหรือวิธีการในการสะกิดให้ผู้บริโภคหันมาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการช้อปปิ้งออนไลน์ โดยทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่มีการใช้จ่ายออนไลน์ในช่วงโปรโมชั่นช่วง Double day จำนวน 29 คน โดยใช้วิธีการเก็บตัวอย่างแบบสุ่ม (Random Sampling) ซึ่งผู้วิจัยได้ทำแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ และข้อมูลเชิงปริมาณ ซึ่งเครื่องมือที่นำมาใช้ในการวิจัยเป็นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่เรียกว่า ทฤษฎีการสะกิด (nudge theory)


จากผลการวิจัย พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้จ่ายออนไลน์ในช่วงโปรโมชัน ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มี 1 ปัจจัยได้แก่ รายได้ต่อเดือน และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้จ่ายออนไลน์ในช่วงโปรโมชั่น ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มี 3 ปัจจัยได้แก่ เพศหญิง การสะกิดด้วยวิธีบอกเงินช้อปปิ้งเป็นเงินเก็บ และยอดการสั่งซื้อสินค้าย้อนหลังที่ทำการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ในช่วงโปรโมชั่น Double day 3 เดือนย้อนหลัง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Atiwat Vonglaharn. (2564). พฤติกรรมการส่งเสริมการขาย. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2562/F_Atiwat_Vongklaharn.pdf. (19 ตุลาคม 2565)

Marketingoops. (2564). พฤติกรรม “นักชอปออนไลน์ไทย” ที่เปลี่ยนไปและสิ่งที่ “แบรนด์” ต้อง ปรับตัว ให้ทัน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.marketingoops.com/news/insight- consumer-shopping-online/. (19 ตุลาคม 2565)

Post Family. (2563). “รู้ก่อนได้เปรียบ” อัพเดตพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าที่เปลี่ยนไปหลัง COVID-19.

แหล่งที่มา https://postfamily.thailandpost.com/ecommerce-insights/พฤติกรรมการซื้อของลูกค/.

(19 ตุลาคม 2565) Prachachat. (2560). พฤติกรรมการซื้อของออนไลน์ของคนไทย.

[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.wynnsoft-solution.com/บทความ/พฤติกรรม-การซื้อของออนไลน์-ของ-คนไทย. (19 ตุลาคม 2565)

Thaler, R. H. (2018). Nudge, not sludge. Science, 361(6401), 431-431.

Think with Googles. (2562). บทเรียนฉบับย่อวิธีเอาใจชนะผู้บริโภคในเทศกาลชอปปิ้ง. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.thinkwithgoogle.com/intl/th-th/consumer-insights/consumer-trends/thailand-shopping-insights-2019/. (19 ตุลาคม

กิจปฏิภาณ วัฒนประจักษ์ และ พิมลมาศ เนตรมัย. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการซื้อแบบไม่ได้วางแผนล่วงหน้าในร้านสะดวกซื้อ. [ระบบออนไลน์].

แหล่งที่มา https://mis.nrru.ac.th/gradjournal/uploadify/uploads/Test/674%2009-02-18%2001-13-31.pdf. (21 ตุลาคม 2565)

ชีวรรณ เจริญสุข. (2564). ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://maymayny.wordpress.com/2014/12/06/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%

B8%B5%E0%B9%88-2- %E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%9E%E0%B8

%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0 %B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89/. (19

ตุลาคม 2565)

ไทยพาณิชย์. (2563). 5 เทศกาล Sales เขย่าใจสายช้อปออนไลน์. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.scb.co.th/th/personal-banking/stories/life-style/5-online-shopping-festivals.html (19 ตุลาคม 2565)

พัชรพร คำใส. (2564) ปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกร้านค้าของผู้บริโภค. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://archive.cm.mahidol.ac.th/bitstream/123456789/4510/1/TP%20MM.011%202565.pdf. (23 ตุลาคม 2565)

พนิดา ตันศิริ. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่ม เจนเนอเรชั่น Z ในกรุงเทพมหานคร. [ระบบ

ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://so06.tci- thaijo.org/index.php/apheit-ss/article/view/255438/173020. (23 ตุลาคม 2565)

ภัสสราณัฐ รวยธนาสมบัติ. (2559). การศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความตั้งใจซื้อสินค้าผ่าน อินเทอร์เน็ตของผู้บริโภคในแต่ละเจเนอเรชั่น.

[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:93827. (23 ตุลาคม 2565)

อดุลย์ ศุภนัท, พีระ ตั้งธรรมรักษ์, ธนาคม ศรีศฤงคาร, และ ณั ฎ ฐ์ ศุภ ณ ดำ ชื่น (2565). การสะกิดเพื่อส่งเสริมใช้ถุงพลาสติกชีวภาพด้วยเศรษฐศาสตร์เชิง

พฤติกรรมกับครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 42(1). 20 – 35.