ปัจจัยที่ทำให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกบริโภครถยนต์ไฟฟ้า (EV) ในประเทศไทย

Main Article Content

นิธิวัต พรประสิทธิ์
นนทกร วิจิตรสงวน
ศุกร์ ภิญญธนาบัตร
อภิมุข เข้มแข็งปรีชานนท์
ณัฐวุฒิ วสุธาทิพ

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันรถยนต์ไฟฟ้ากำลังเป็นที่นิยมในประเทศไทย โดยมีแนวโน้มความนิยมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่เป็นกลไกขับเคลื่อนนวัตกรรม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมเพื่ออนาคต สู่การใช้ยานยนต์ไร้มลพิษ วิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์ ในการศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อการตัดใจสินใจบริโภครถยนต์ไฟฟ้าของผู้บริโภคในประเทศไทย ผู้วิจัยได้ทำการเก็บข้อมูล จากการสัมภาษณ์และเก็บแบบสอบถามทางออนไลน์ ผ่านรูปแบบการกรอกข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีความสนใจการบริโภครถยนต์ไฟฟ้าจํานวน 200 คน และวิเคราะห์ข้อมูลผ่านแบบจําลองการถดถอยแบบสองทางเลือก และความสอดคล้องของ Generation ต่างๆ


ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความสนใจบริโภครถยนต์ไฟฟ้าส่วนมากถึงร้อยละ 63.5 จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด โดยปัจจัย อายุ และเทคโนโลยีใหม่ มีผลต่อการตัดสินใจบริโภครถยนต์ไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่เพศ อาชีพ รายได้ จำนวนสมากชิกในครอบครัว สถานภาพ สัตว์เลี้ยง ระดับการศึกษา ราคารถยนต์ไฟฟ้า ระยะทางที่ขับเคลื่อนได้ การทำการตลาด ราคาเชื้อเพลิง ราคาต่อคุณภาพรถยนต์ไฟฟ้า แบรนด์รถยนต์ไฟฟ้า และนโยบายภาครัฐให้ผลลัพธ์ในทางกลับกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณรงค์ชัย ศรีขวัญเจริญ, เอกชัย ศิริกิจพาณิชย์กูล, และ สโรช บุญศิริพันธ์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้รถยนต์ไฟฟ้า (การประชุมทางวิชาการ

ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 57). สืบค้นจาก https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/index.php?/BKN/search_detail/result/395611

ธนดล ชินอรุณมังกร. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1431/1/gs611110022.pdf

พิทยุตม์ โตขํา, วิไลพรรณ ตาริชกุล, และ เมธาวี อนิวรรตนพงศ์. (2565, มกราคม-มีนาคม). อิทธิพลของปัจจัยที่มีต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ รถยนต์พลังงานไฟฟ้า

แบตเตอรี่ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารคณะบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 5(1), 53-72.

สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ibas/article/view/254423

ภัคจิรา นามบัวน้อย, ศักดิ์สิทธิ์ บุศยพลากร, และ ธีรศักดิ์ ทรัพย์วโรบล. (2566, มกราคม-มีนาคม). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลชนิดเชื้อเพลิง

ไฟฟ้าของผู้บริโภค ในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 5(1), 201-214. สืบค้นจาก https://so06.tci-

thaijo.org/index.php/JSSP/article/view/260347

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2565). ส่องข้อดี-ข้อเสีย “รถยนต์ไฟฟ้า” ขับลุยน้ำท่วมได้นานแค่ไหน ควรดูแลแบตเตอรีอย่างไร. สืบค้นจาก

https://tu.ac.th/thammasat-030865-tse-expert-talk-electric-vehicle

วรินทร์ทิพย์ กำลังแพทย์. (2559, กรกฎาคม-ธันวาคม). การตลาดออนไลน์กับผู้บริโภค XYZ. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขามนุษย์ศาสตร์และ

สังคมศาสตร์, 1(2), 8-15. สืบค้นจากhttps://repository.rmutp.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/2458/IRD_61_42.pdf?

sequence=1&isAllowed=y

วรรณา ยงพิศาลภพ. (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-65: อุตสาหกรรมรถยนต์. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/

research/industry/industry-outlook/hi-techindustries/automobiles/io/io-automobile-20 ศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ. (2566). ไทย

พร้อมแค่ไหน? กับการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า. สืบค้นจาก http://neic.eppo.go.th/infographic.html

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2558). IPCC Fifth Assessment Synthesis Report Summary for Policymakers

บทสรุปรายงาน IPCC ฉบับที่ 5 สำหรับผู้กำหนดนโยบาย. สืบค้นจาก https://www.ipcc.ch/site/assets/uploads/2021/03/

Thai_SYR_IPCC_Fifth_Assessment_Report.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2566). ประชากรโลก : ประชากรไทย. สืบค้นจากhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/indi_popworld.html

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). Sustainable Development Goals. สืบค้นจาก https://sdgs.nesdc.go.th

หนึ่งฤทัย รัตนาพร. (2562). การศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติต่อการเลือกซื้อรถยนต์ไฟฟ้าของกลุ่มคนเจนเนอเรชั่น X และ Y ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

(สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี). สืบค้นจาก https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/

dc:175979

Ghosh, A. (2020) Possibilities and Challenges for the Inclusion of the Electric Vehicle (EV) to Reduce the Carbon Footprint in the

Transport Sector: A Review. Retrieved from https://www.mdpi.com/1996-1073/13/10/2602

Kim, S., Choi, J., Yi, Y., & Kim, H. (2022, April). Analysis of Influencing Factors in Purchasing Electric Vehicles Using a Structural Equation

Model: Focused on Suwon City. Sustainability, 14(8), 4744. Retrieved from https://doi.org/10.3390/su14084744

Lashari, Z. A., Ko, J., & Jang, J. (2021, June). Consumers’ Intention to Purchase Electric Vehicles: Influences of User Attitude and

Perception. Sustainability, 13(12), 6778. Retrieved from https://doi.org/10.3390/su13126778

Lee, J., Baig, F., Talpur, M.A.H., & Shaikh, S. (2021, May). Public Intentions to Purchase Electric Vehicles in Pakistan. Sustainability, 13(10),

Retrieved from https://doi.org/10.3390/su13105523

Nattapon Dolcharumanee (2018). A STUDY OF FACTORS AFFECTING THE DECISION TO PURCHASING ELECTRIC VEHICLES (EVs) OF THE

CONSUMER IN BANGKOK (Master’s thesis, Bangkok University, Pathum Thani). Retrieved from

http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/3631

Sanguesa, J. A., Torres-Sanz, V., Garrido, P., Martinez, F. J., & Marquez-Barja, J. M. (2021, March). A Review on Electric Vehicles:

Technologies and Challenges. Smart Cities, 4(1), 372-404. Retrieved from https://doi.org/10.3390/smartcities4010022

Varghese, A. T., Abhilash, V. S., & Pillai, S. V. (2021, Jun). A Study on Consumer Perception and Purchase Intention of Electric Vehicles in

India. Asian Journal of Economics, Finance and Management, 3(1), 272–284. Retrieved from

https://www.globalpresshub.com/index.php/AJEFM/article/view/1087