การวิเคราะห์ต้นทุนและอัตรากําไรของธุรกิจผลิตขนมเปี๊ยะจังหวัดเพชรบุรีในช่วงเทศกาลสำคัญ: กรณีศึกษาร้านขนมเปี๊ยะตาลกง อำเภอบ้านลาด

Main Article Content

รัญชิดา เบริล
พิมพิศา เขียวเข้ม
สายใจ สาวะรักษ์
อรพรรณ เกตุกร
ลัลลลินณ์ อรัญพันธุ์
กฤตพณ เพชรจ้อย
ภานุพงศ์ แช่มช้อย

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและอัตรากำไรของธุรกิจร้านขนมเปี๊ยะตาลกง จังหวัดเพชรบุรี และเพื่อประเมินความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ รวมไปถึงเพื่อศึกษาต้นทุนที่อาจส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจผลิตขนมเปี๊ยะ โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เจ้าของธุรกิจหรือผู้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ของธุรกิจขนมเปี๊ยะตาลกง จังหวัดเพชรบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนและรายได้ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ และข้อมูลความเสี่ยงในการดำเนินงานของธุรกิจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)   ผลการวิจัย พบว่า ธุรกิจขนมเปี๊ยะตาลกงจังหวัดเพชรบุรีมีต้นทุนต่อหน่วยเฉลี่ย 55.56 บาท และอัตรากำไรร้อยละ 30 ต้นทุนและอัตรากำไรในแต่ละเทศกาลมีจำนวนใกล้เคียงกัน โดยรายละเอียดต้นทุน พบว่า มีสัดส่วนต้นทุนวัตถุดิบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 72.95 จากต้นทุนการผลิตรวม ส่วนการประเมินความเสี่ยของการดำเนินงานของธุรกิจ พบว่า มีความเสี่ยงอยู่ในระดับต่ำ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงวัฒนธรรม. (2565). ประวัติความเป็นมาขนมเปี๊ยะตาลกง. สืบค้นจาก :

http://m-culture.in.th/album/view

งานประกันคุณภาพการศึกษา สำนักบริหารทางวิชาการและทดสอบประเมินผล. (2561). ปัจจัยความเสี่ยงองค์กรยุคใหม่. สืบค้นจาก :

http://www.regis.ru.ac.th/document/QM/News/12Dec2561

นันทนา แจ้งสว่าง. (2566). การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตกะหรี่ปั๊บ ของบ้านสวนพันจิตร ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. วารสาร

ลวะศรี, 7(1), 93-101 สืบค้นจาก : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawasrijo/article/view/263751/179927

บุญมี ชัยชนะ และคณะ. (2559). บทความวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและต้นทุนขายของธุรกิจขนมเปี๊ยะตาลกง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 13(1), 1-11

เบญจมาศ อภิสทธิ์ภิญโญ. (2562). การบัญชีต้นทุน1. กรุงเทพมหานคร: แพนด้าเลิร์นนิ่งบุ๊ค

พรรณนิภา รอดวรรณะ. (2560) การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชริดา พรโพธิสถิต. (2560). การศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนในกิจการขนมเพื่อสุขภาพ กรณีดำเนินการตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ในเขตพื้นที่

หนองแขม กรุงเทพมหานคร (การศึกษาค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย), หน้า 1. สืบค้นจาก :

https://searchlib.utcc.ac.th/library/onlinethesis/301286.pdf

พิมพิ์ญาดา ไล้สวัสดิ์. (2565). การศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดร้านจำหน่ายเบเกอรี่โฮมเมดบริเวณสถานีบีทีเอส (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ),หน้า 55

เพ็ญพรรณ เพ็ชรสว่าง. (2562). การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิต กรณีศึกษา บริษัทผลิตอุปกรณ์การแพทย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร), หน้า 61.

ภัณฑิรา มาบรรดิษฐ์ และคณะ. (2564). บทความวิจัย เรื่อง รูปแบบกลยุทธ์ของผู้ประกอบการขายส่งขนมหวานในช่วงการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 กรณีศึกษาร้าน

ลุงอเนกขนมหวานเมืองเพ็ชร์ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. สืบค้นจาก : 2249_20210608_KPuntiraAssocProfDrPhitak_MU_ Business_

Conference_2021.pdf

ภาวินีย์ ธนาอนวัช. (2563). การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ขนมไทยโบราณของวิสาหกิจชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร

วิทยาการจัดการปริทัศน์. 22(2), 169-180

มนวิกา ผดุงสิทธิ์. (2556). ทฤษฎีต้นทุนและต้นทุนการผลิต.สืบค้นจาก : https://mim12bibiilham.blogspot.com/2017/11/blog-post_96.html

วันวิสา พุตติ. (2560). แผนธุรกิจขนมเปี๊ยะแป้งถั่วขาว. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล), หน้า 56

ศศิวิมล มีอำพล (2560). การบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร : เสมาธรรม จำกัด.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2563). การบัญชีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: บริษัท กรีนไลฟ์ พริ้นติ้งเฮ้าส์ จำกัด

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2566). ตลาดขนมขบเคี้ยว. รายงานตลาดอาหารในประเทศไทย สืบค้นจาก :

https://fic.nfi.or.th/upload/market_overview/pdf388.pdf

อาสาฬห์ อุตตาลกาญจนา. (2565). บทความวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตของการปลูกผักสลัดแบบไฮโดรโปนิกส์และอินทรีย์ในแต่ละฤดูกาล ของ

จังหวัดนครสวรรค์. สืบค้นจาก : https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/246455/167239

Dominick Salvatore. (2006). Microeconomics (Fourth Edition). p.150.

Osisioma, B. (1996). Studies in Accountancy Text and Reading (Revised and Enlarged Edition). Enugu, Nigeria : ACENA Publishers.

RealRare Group, (2567). ทำไมต้องเป็นจังหวัดเพชรบุรี. สืบค้นจาก : https://th.realraregroup.com/why-s-phetchaburi

Srinakharinwirot University. (2567). การจัดการความเสี่ยง (RM). สืบค้นจาก : https://science.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=

&language=th-TH