สื่อสังคมเพื่อการศึกษา

ผู้แต่ง

  • วรางคณา โตโพธิ์ไทย สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

สื่อสังคม, การศึกษา

บทคัดย่อ

สื่อสังคมเพื่อการศึกษา เป็นตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาสาระประสบการณ์ และกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ผ่านสื่อที่รวมกลุ่มบุคคลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้สอนและผู้เรียน สามารถสร้าง แบ่งปัน แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เนื้อหาสาระ และประสบการณ์ในรูปแบบ เสียง ตัวอักษร ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว และอื่น ๆ ผ่านสื่อกลางของระบบเว็บไซต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นอกจากนั้นสื่อสังคมเพื่อการศึกษายังมีประโยชน์ โดยใช้เพื่อการเรียนการสอน เป็นแหล่งเรียนรู้ ใช้เพื่อการสื่อสาร ร่วมมือ ระดมสมองและทำงานร่วมกัน รูปแบบการออกแบบสื่อสังคมเพื่อนำมาใช้ในการศึกษา ครอบคลุมการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์เนื้อหา การกำหนดวัตถุประสงค์การออกแบบสื่อ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล ทั้งนี้ต้องใช้อย่างมีวิจารณญาณ รู้เท่าทันสื่อ คำนึงถึงจรรยาบรรณ และความปลอดภัยในการใช้

References

กานดา รุณนะพงศา สายแก้ว, ธรา อั่งสกุล, และศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล. (2557). การใช้เฟซบุ๊ก กูเกิลดอกส์ มูเดิล เพื่อการเรียนการสอน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. https://www.researchgate.net/scientific-contributions/Kanda-Runapongsa-Saikaew-37097273

นฤมล บุญส่ง. (2561). สื่อสังคมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(1), 2873-2885. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/145596

ยืน ภู่วรวรรณ. (2554). นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อการจัดการเรียนรู้. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ (หน่วยที่ 11, น. 1-55). สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. https://www.stou.ac.th/thai/Schools/Shs/booklet/index.asp

ระวิ แก้วสุกใส และชัยรัตน์ จุสปาโล. (2556). เครือข่ายสังคมออนไลน์: กรณีเฟสบุ๊ก (Facebook) กับการพัฒนาผู้เรียน. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(4), 195-205. https://www.tci-thaijo.org/index.php/princess_it_journal/article/view/20234

วรางคณา โตโพธิ์ไทย. (2560). สื่อสังคมเพื่อการศึกษา. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (หน่วยที่ 13, น. 13-1–13-43). สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. https://www.stou.ac.th/schoolsite/sec/UploadedFile/27711-1.pdf

Collin, P., Rahilly, K., Richardson, I., & Third, A. (2011). The benefits of social networking services. Cooperative Research Centre for Young People, Technology and Wellbeing. https://www.researchgate.net/publication/271444721_The_Benefits_of_Social_Networking_Services

Oberlo. (2020, 17 January). 10 social media statistics you need to know in 2020. https://www.oberlo.com/blog/social-media-marketing-statistics

Williamson, A. (2019). Social media guidelines for parliaments. Inter-Parliamentary Union. https://www.ipu.org/resources/publications/reference/2016-07/social-media-guidelines-parliaments

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-09

How to Cite

โตโพธิ์ไทย ว. (2021). สื่อสังคมเพื่อการศึกษา. วารสาร อีซีที เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, 16(20), 1–15. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ectstou/article/view/242776