การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติ การเรียนการสอน MOOC ด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
คำสำคัญ:
รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์, การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน, มาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียน การสอน MOOCบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียนรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (3) เพื่อศึกษาทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียน
การสอนออนไลน์ตามมาตรฐาน และแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) วิธีดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยและพัฒนา ผลจากการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ร่วมกับการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1.1 ขั้นก่อนเรียน 1.2 ขั้นการเรียน 1.3 ขั้นประเมินผล และ 1.4 ขั้นประเมินผลสรุป 2) ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักศึกษา
มีทักษะการแก้ปัญหาจากการทำกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์จากการเรียนรูปแบบการเรียนการสอนในระดับมาก (M = 3.42, SD = 0.58) 4) ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา พบว่า มีความคิดเห็นเกี่ยวกับอยู่การเรียนการสอนออนไลน์ตามมาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในระดับมากที่สุด (M = 4.54, SD = 0.45)
References
กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. อรุณการพิมพ์.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2550). การพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน: สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. https://www.stou.ac.th/Services/library/courselib/Instructional%20Media.pdf
ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลิร์นนิ่ง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning: หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.
เนาวนิตย์ สงคราม. (2559). รายงานการวิจัย เรื่อง ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งบนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เสมือนจริงเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและการเรียนรู้เป็นทีมสำหรับนิสิตศึกษาครุศาสตร์บัณฑิตในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG5750052
ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ และเสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2560). มาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(2), 244-256. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/VRUGradJour/article/view/112724
พิศิษฐ์ สุวรรณแพทย์. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการเรียนรู้แบบสืบสอบเพื่อเสริมสร้างความคาดหวังวิชาฟิสิกส์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. คลังข้อมูลดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000012193
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2562). มุมมองผู้ก่อตั้ง STOU. https://www.stou.ac.th/main/history.html
รุจโรจน์ แก้วอุไร. (2543). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุม [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. https://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ed_Tech/Rujrote_K.pdf
ศันสนีย์ เลี้ยงพาณิชย์. (2561). รูปแบบการเรียนแบบดิจิทัลโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(ฉบับพิเศษ), 15-30. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/137851
เอกนฤน บางท่าไม้, อนิรุทธ์ สติมั่น, และฐิติมา เนียมสุวรรณ. (2560). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาในรายวิชาการถ่ายภาพดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 15(1), 102-117. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/146097
Bawane, J., & Spector, M. J. (2009). Prioritization of online instructor roles: Implications for competency-based teacher education programs. Distance Education, 30(3), 383-397. https://doi.org/10.1080/01587910903236536
Boud, D. (Ed.). (1982). Developing student autonomy in learning. Nichols Publishing.
Carley, M. A. (2008). Adult learning theories. CALPRO.
Cooper, L. (2000). Online course. The Journey, 27(8), 86-92. https://www.learntechlib.org/primary/p/10765/
Gagné, R. M. (1997). The conditions of learning (3rd ed.). Holt, Rinehart and Winston.
Joyce, B., & Weil, M. (2009). Models of teaching (8th ed.). Pearson.
Keller, J. M., & Dodge, B. (1982). The ARCS model of motivational strategies for course designers and developers. Training Developments Institute. https://eric.ed.gov/?id=ED222184
Knowles, M. S. (1980). The modern practice of adult education: From pedagogy to andragogy. Cambridge Adult Education. https://www.worldcat.org/title/modern-practice-of-adult-education-from-pedagogy-to-andragogy/oclc/5447548
Kurubacak, G. (2000). On-line learning: A study of students' attitudes towards web-based instruction [Conference paper]. AECT 2000 Conference, Long Beach, CA, United States. https://www.learntechlib.org/p/89650/
Saiz, F. B. (2013). Online learners' frustration: Implications for lifelong learning. In U. Bernath, A. Szücs, A. Tait, & M. Vidal (Eds.), Distance and e-learning in transition (pp. 635-651). John Wiley & Sons.
Yang, S. P. (2002). Problem-based learning on the World Wide Web in an undergraduate kinesiology class: An integrative approach to education [Master's thesis, University of New Brunswick]. Library and Archives Canada. https://central.bac-lac.gc.ca/.item?id=MQ75319&op=pdf&app=Library&oclc_number=971767863
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. ทรรศนะและข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏอยู่ในวารสาร ECT Education and Communication Technology Journal เป็นของผู้เขียนโดยเฉพาะ สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
2. กองบรรณาธิการของสงวนลิขสิทธิ์ในการบรรณาธิการข้อเขียนทุกชิ้น เพื่อความเหมาะสมในการจัดพิมพ์เผยแพร่