การศึกษาผลการใช้สื่อเสียงบรรยายภาพเพื่อการเรียนการสอนทางไกล สาหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ผู้แต่ง

  • อ.ดร.เสกสรร อามาตย์มนตรี
  • อภิญญา สนกนก

คำสำคัญ:

audio description, visual impairment

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้สื่อเสียงบรรยายภาพที่พัฒนาเป็นรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อการสอนเสริมทางไกล ประกอบชุดวิชาไทยศึกษาสาหรับนักศึกษาที่บกพร่องทางการเห็น และศึกษาความพึงพอใจต่อสื่อเสียง บรรยายภาพกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บกพร่องทางการมองเห็นที่มีสถานภาพเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จานวน 10 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินและสัมภาษณ์ความพึงพอใจ ของผู้เรียนต่อสื่อเสียงบรรยายภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิตินอนพาราเมตริก

ผลการวิจัยพบว่า การเรียนโดยใช้สื่อเสียงบรรยายภาพที่พัฒนาเป็นรายการโทรทัศน์เพื่อ การศึกษาเพื่อการสอนเสริมทางไกล ประกอบชุดวิชาไทยศึกษาสาหรับนักศึกษาที่บกพร่องทางการเห็น คะแนนหลังเรียนของผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และผลการประเมิน ความพึงพอใจต่อสื่อเสียงบรรยายภาพ มีค่าเฉลี่ยรวมที่ระดับพึงพอใจมากที่สุด

References

Agnieszka Walczak and other. (2017). “The impact of audio description style on presence in visually impaired audiences”. [online] [cited 2017 July 12 ]. Available from : URL : http://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0264619616661603

Anna Matamala and Marta Villegas. (2016). “Building an Audio Description Multilingual Multimodal Corpus: The VIW Project”. [online] [cited 2017 July 12 ]. Available from : URL : https://ddd.uab.cat/pub/presentacions/2016/154724/matamala_villegas_lrec16_ mmc16_final.pdf

Bernd Benecke. “Audio Description” Phenomena of Information Sequencing. [online] 2007. [cited 2015 June 15 ]. Available from : URL : http://www.euroconferences.info/ proceedings/ CenturyTeaching and Learning.

Foundation for the Blind in Thailand Under the Royal Patronage of H.M. the Queen (1999). Smiling. Bangkok : Center for Teaching and Learning Media for the Bangkok Blind School

Gavin Kearney and Marina Julieta Lopez. (2016). “Enhancing Audio Description” [online] [cited 2017 July 12 ]. Available from : URL : https://pure.york.ac.uk/portal/en/projects/enhancing-audio-description(a74d6df6-6bb9-46bb-b8e0-5c6c15d78511).html

Joyce and M. Weil. (1986). Model of Teaching. 3rd. Prentice-Hall, New York

Seksan Amatmontree and Anchulee Suwat. (2019). Educational Audio Description. 14th National and International Conference of Sripatum University 2019 Innovation Research for Thailand 4.0”. 19 December 2019. Sripatum University.

Sumalee Sungsri et. al. (2011). Research report on Educational Support Services in the Distance Education System of Sukhothai Thammathirat Open University. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.

Siri Wormnase and Nina Sellaeg. (2013). “Audio-description education materials: Ugandan teachers’ experiences”. [online] [cited 2017 July 12 ]. Available from : URL : http://journals.sagepub.com/doi/pdf/10.1177/0264619613485029

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-18