Developing Chinese listening - speaking skills of the freshmen through 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises who are in Chinese Program, Faculty of Humanities and Social sciences, Rajabhat Maha Sarakham University

Authors

  • เหิง หวาง นักศึกษาระดับ ป.โท สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • ชมพูนุท เมฆเมืองทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • นิรุต ถึงนาค รองศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Keywords:

Chinese listening - speaking skills, 4 MAT model, basic Chinese vocabulary exercises, Chinese Program

Abstract

The purposes of this research were to 1) study students’ efficiency through 4 MAT to consist of basic Chinese vocabulary exercises following E1/E2=80/80, 2) study effectiveness index through 4 MAT to consist of basic Chinese vocabulary exercises, 3) compare Chinese listening - speaking skills of the freshmen before and after using 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises,4) compare Chinese listening - speaking skills of the freshmen before they were different from Chinese listening -speaking skills and after using 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises, and 5) study freshmen’s satisfaction after using 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises. The population was the freshmen who were in Chinese Program, Faculty of Humanities and Social sciences, Rajabhat Maha Sarakham University in the 2019 year, and the sample was the 33 freshmen through cluster random sampling who were major in teaching Chinese as a second language of Chinese Program in the 2019 year. The instruments were used in this research were Lesson plans which were created by idea and theory about 4 MAT model, measure students’ Chinese listening-speaking skills and a questionnaire for satisfaction. The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-test (Dependent Sample) and F-test (One –way AVOVA). The findings were as follows: 1) efficiency through 4 MAT to consist of basic Chinese vocabulary exercises was 84.71/85.50. 2) effectiveness index through 4 MAT to consist of basic Chinese vocabulary exercises was 0.7874. 3) Chinese listening - speaking skills of the freshmen after using 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises were higher than before at the 0.01 level of significance. 4) Chinese listening - speaking skills of the freshmen before they were different from Chinese listening -speaking skills and after using 4 MAT model to
consist of basic Chinese vocabulary exercises were no difference at the 0.01 level of significance. 5) freshmen’s satisfaction after using 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises was at the highest level. Kewords : Chinese listening - speaking skills, 4 MAT model, basic Chinese vocabulary
exercises, Chinese Program

References

ขวัญเรือน โคตกนก. (2553). ผลการพัฒนาการอ่านและเขียนคำประสมด้วยสระอะเปลี่ยนรูปสระลดรูปกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ชั้นประถมศึกษาปีที่1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จันทนา บรรจงดิษฐ์.(2559).การพัฒนาความสามารถภาษาจีนเพื่อการสื่อสารโดยใช้หนัสืออิเล็กทรอนิกส์.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ธนพล ศักดิ์ศรีท้าว.(2558).ผลการใช้แบบฝึกทักษะเรื่อง เวลา โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้ 4MAT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นันทนา ไชยแสง. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ 4 MAT กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่องการแต่งกลอนสุภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่6. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
ปัญญา วรรณชัย. (2553). ความสามารถด้านการฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบทางตรง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปิยะพงษ์ วงศ์ขุมเงิน.(2556). การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบ4MAT. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิมพา โพธิปัสสา. (2550). ผลการเรียนภาษาไทยด้วยกิจกรรมการเรียนแบบ 4 MAT เรื่องชนิดและหน้าที่ของคำเว้นวรรคชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วีรญาภรณ์ ศรบุญทอง. (2553). การพัฒนาความสามารถทางการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศศิพิมพ์ นิตโย. (2554). การหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ 4 MAT กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เรื่อง Prepositions ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ศิริรัตน์ นาอุดม. (2553). การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนโนนสมบูรณ์ประชาสรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศุภวรรณ นาคนิล. (2552). การพัฒนาทักษะการฟัง การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สิริ์กาญจน์ สิงห์เสน.(2556).ผลการใช้แบบฝึกทักษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สิริกุล แพร่ศรีสกุล.(2552). ผลของการใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ 4 MAT ต่อการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การสมัครงานของนักเรียนชั้นปีที่ 2 โรงเรียนพาณิชยการขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรัสวดี สุทธภักดี.(2560). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทบาทสมมติร่วมกับแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีนและความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Downloads

Published

2019-10-30

How to Cite

หวาง เ., เมฆเมืองทอง ช., & ถึงนาค น. (2019). Developing Chinese listening - speaking skills of the freshmen through 4 MAT model to consist of basic Chinese vocabulary exercises who are in Chinese Program, Faculty of Humanities and Social sciences, Rajabhat Maha Sarakham University. Chophayom Journal, 30(2), 217–228. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejChophayom/article/view/212347

Issue

Section

บทความวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์