แนวทางการจัดการความสุขในการทางาน กรณีศึกษา : คณะ / องค์กร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ A MANAGEMENT APPROACH IN THE HAPPY WORKPLACE. CASE STUDY : FACULTY / ORGANIZATION IN THE PUBLIC UNIVERSITIES

Authors

  • นิศาชล ฉัตรทอง
  • กมลพร สอนศรี
  • จิตรดา อมรวัฒนา
  • วฤษสพร ณัฐรุจิโรจน์

Abstract

บทคัดย่อ


การศึกษาวิจัย เรื่อง แนวทางการจัดการความสุขในการทำงาน กรณีศึกษา คณะ/องค์กร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1) เพื่อศึกษาความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) เพื่อเปรียบเทียบความสุขในการทำงาน จำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ 4) เพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1) ความสุขในการทางานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในระดับ ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสุขภาพดี ด้านผ่อนคลายดี ด้านครอบครัวดี ด้านใฝ่รู้ดี อยู่ในระดับ ปานกลาง และด้านนาใจดี ด้านจิตตวิญญาณดี ด้านสังคมดี ด้านสุขภาพเงินดี ด้านการงานดี อยู่ในระดับ มาก 2) เปรียบเทียบความสุขในการทางาน จาแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล ปัยจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนบุตร ลักษณะงาน สถานภาพการจ้างงาน ระยะเวลาที่ทางานมีความแตกต่างกันส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ปัญหาและอุปสรรคที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ปัญหาความขัดแย้งภายในองค์กร ความเป็นธรรมต่อความหลากหลายของผู้ปฏิบัติงาน การขาดความพร้อมในการทำงาน เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน และ 4) แนวทางการจัดการความสุขในการทำงานของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลพบว่า มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความผูกพันด้วยวัฒนธรรมองค์กร มีการจัดการด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานให้น่าอยู่ มีระบบการประเมินที่เป็นธรรมและการจัดการค่าตอบแทนที่เหมาะสม

ABSTRACT


The objectives of this research were 1) To study happiness in the work of the Faculty of Medical Personnel.Mahidol University 2) to compare the happy workplace classification of the personal factors 3) to study the problems and barriers affecting the happy workplace of supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University and 4) to recommend a management approach in the happy workplace of supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University.

The results showed that : 1) the happy workplaceof supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University was evaluated at a moderate level. When considering each side, happy body, happy relaxation, happy family, happy brain were indicated to be at a moderate leveland happy heart, happy soul, happy society, happy money, happy work-life were indicated to be at an abundant level. 2) Comparing happy workplace classification of the personal factors, it was observed that gender, age, education level, status, child, job, work status, period of time at work were different affecting happy workplace of supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University. 3) problems and barriers affectthe happy workplace of supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University, problems and conflictsinside the organization, fairness of a variety of practitioners, the lack of availability of work, a barrier to the practices of work. and 4) A management approach in the happy workplaceof supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University finds there are projects for building therelationship with the corporate culture, managed environment to work for a living, an assessment system that is fair and reasonable compensation management. barrier the affecting happy workplace of supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University find problem and conflict inside organization, fairness to a variety of practitioners, the lack of availability of work, a barrier to the practices work.4.A management approach in the happy workplaceof supporting staff in the Faculty of Medical Technology, Mahidol University find there are projects to buil ties with the corporate coulture, managed environment to work for a living, a raing system that is fair and reasonable compensation management.

 

Downloads

Published

2016-01-01

How to Cite

ฉัตรทอง น., สอนศรี ก., อมรวัฒนา จ., & ณัฐรุจิโรจน์ ว. (2016). แนวทางการจัดการความสุขในการทางาน กรณีศึกษา : คณะ / องค์กร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ A MANAGEMENT APPROACH IN THE HAPPY WORKPLACE. CASE STUDY : FACULTY / ORGANIZATION IN THE PUBLIC UNIVERSITIES. Chophayom Journal, 27(1), 131–145. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejChophayom/article/view/72701

Issue

Section

บทความวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์