การใช้รูปแบบการจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม Use of Knowledge Management Model for Competency Community Enterprise in Maha Sarakham Province

Authors

  • ธนัณชัย สิงห์มาตย์
  • พรรษวดี พงษ์ศิริ

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อการจัดการความรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดมหาสารคาม เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดมหาสารคาม และเพื่อประเมินผลรูปแบบการจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างการวิจัยในครั้งนี้ เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม จานวน 460 กลุ่ม จากประชากร จานวน 1,778 กลุ่ม วิจัยโดยใช้วิธีในการวิจัยในเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ดาเนินการวิจัยเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการจัดการความรู้ของวิสาหกิจชุมชนใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ระยะที่ 2 เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการความรู้ของวิสาหกิจชุมชนใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ระยะที่ 3 การทดลองใช้ ประเมินผลการใช้รูปแบบการพัฒนาการจัดการความรู้ของวิสาหกิจชุมชน ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ สถิติที่ใช้ในงานวิจัยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Method) ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (PearsonProduct Moment Correlation Coefficient)และ วิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Model) 

ผลการวิจัย พบว่า การวิจัยระยะที่ 1 ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการจัดการความรู้มีอิทธิพลเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญต่อความสาเร็จการจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กระบวนการการจัดการความรู้มีอิทธิพลเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญต่อความสาเร็จการจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยแบบจาลองโครงสร้างเชิงประจักษ์สอดคล้องกับแบบจาลองโครงสร้างเชิงทฤษฎี ดังนั้น วิสาหกิจชุมชนจังหวัดมหาสารคามควรให้ความสาคัญต่อปัจจัยแห่งความสาเร็จของการจัดการความรู้ด้านวัฒนธรรมองค์กร กระบวนการการจัดการความรู้ด้านการจัดเก็บความรู้ และความสาเร็จการจัดการความรู้ด้านประสิทธิภาพในการแบ่งปันหรือแลกเปลี่ยนความรู้ การวิจัยระยะที่ 2 ผลวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในด้านวิสาหกิจชุมชน นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญด้านบริหารธุรกิจ พบว่า ร่างรูปแบบการจัดการความรู้วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคามที่เหมาะสมกับบริบทของวิสาหกิจชุมชน คือ 4 E Paradiam ; การกาหนดความรู้ (Engagement) ; การแสวงหาความรู้ (Enthusiasm) ; การแลกเปลี่ยนความรู้ (Exchange) ; การนาความรู้ไปใช้ (External) การวิจัยระยะที่ 3 การนาร่างรูปแบบไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะค่าทรัพย์ทวี อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม โดยมีการฝีกอบรมหลักสูตรภาวะผู้นา วัฒนธรรมองค์การ การผลิต และการตลาด และฝึกปฏิบัติการผลิตหมอนสมุนไพรเสื่อกก หลังการทดลองครบ 6 เดือน พบว่า อัตรากาไรสุทธิต่อเดือนของกลุ่มมีจานวนเพิ่มขึ้น โดยเปรียบเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อนการทดลอง จึงสรุปผลการวิจัยได้ว่า หลังจากที่วิสาหกิจชุมชนกลุ่มมะค่าทรัพย์ทวี ซึ่งเป็นกลุ่มทดลองได้นารูปแบบการจัดการความรู้วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นไปทดลองใช้แล้ว ทาให้ผลการดาเนินงานดีขึ้น

 

ABTRACT

The purposes of the research were to analyze casual factors affecting the knowledge management of community enterprises in Mahasarakham, to develop a model for the knowledge management of the community enterprises, and to evaluate the model for the knowledge management. The population was 1778 community enterprises groups in Mahasarakham. The samples were four hundred and sixty community enterprise groups of one thousand seven hundred and seventy eight groups in Mahasarakham. The qualitative, quantitative and action research methods were employed for this study. The research methodology consisted of three steps: 1) factor analysis of factors affecting the success in knowledge management of the community enterprises, 2) design of a model for the knowledge management, and 3) implementing and evaluating the model. The descriptive method was employed for data analysis. The statistics used were Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Structural Equation Model.

Results of the research were as follows: 1. The findings indicated that the factors significantly affected the success in the knowledge management of the community enterprises in Mahasarakham. Additionally, the process of the knowledge management was positively related to the success in the knowledge management of the community enterprises identified by an empirical structural model and a theoretical structural model. Thus, the members of the community enterprises in Mahasarakham realized the importance of the factors in the knowledge management consisting of organizational culture, saving knowledge, knowledge exchange. 2. Accordance with the model assessment by the experts, the findings revealed that the appropriate model for the knowledge management of the enterprises was composed of four E paradigms: Engagement, Enthusiasm, Exchange and External. and 3. Regarding the model implementation, the findings indicated that the net profit increased significantly by comparing the current income with the income of the same period in the previous years. In conclusion, the research indicates that the model is practical and appropriate for the knowledge management of the community enterprises.

Downloads

Published

2016-01-01

How to Cite

สิงห์มาตย์ ธ., & พงษ์ศิริ พ. (2016). การใช้รูปแบบการจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม Use of Knowledge Management Model for Competency Community Enterprise in Maha Sarakham Province. Chophayom Journal, 27(1), 265–280. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejChophayom/article/view/72721

Issue

Section

บทความวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์