แนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการตามแนวคิดการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน

ผู้แต่ง

  • Jennet Prasertvit Faculty of Education Chulalongkorn University

คำสำคัญ:

Academic Administration, Creative Thinking, Secondary School Student

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการของโรงเรียนจิตรลดาตามแนวคิดการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน 2) นำเสนอแนวทางการพัฒนา การบริหารวิชาการของโรงเรียนจิตรลดาตามแนวคิดการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ใช้วิธีวิจัยเชิงบรรยาย  ประชากร คือ โรงเรียนจิตรลดา ระดับมัธยมศึกษา ผู้ให้ข้อมูล ตือ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานคณะกรรมการการจัดการเรียนการสอน ครูหัวหน้ากลุ่มสาระ 
และครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของร่างแนวทางฯ โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2561 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ คา่เฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวเิคราะห์ดัชนีการลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ฐานนิยม และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนจิตรลดาตามแนวคิดการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและมากตามลำดับ 2) แนวทางการพัฒนาทั้งหมด 9 แนวทาง โดยเรียงลำดับความต้องการจำเป็นดังนี้ (1) การพัฒนา การวัดและประเมินผล 2 แนวทาง (2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 6 แนวทาง และ (3) การพัฒนาหลักสูตร 1 แนวทาง 

Downloads

Download data is not yet available.

References

กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม 124 ตอนที่ 24ก หน้า 29-36, (2550, 16 พฤษภาคม)
ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีป อภิสิทธิ์. (2559). กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัญญรัตน์ บัวพันธ์. (2558). การนำเสนอกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ
ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
ธีรัญญ์ ไพโรจน์อังสุธร. (2559). จิตตปัญญาศึกษา (ภาคทฤษฎี): Contemplative Education.
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.runwisdom.com/2016/03/contemplative-
education.html [15 มิถุนายน 2561]
นัฐยา ทองจันทร์. (2559). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้นโดยการจัดการเรียนรู้แบบระดมสมอง. บัณฑิตวิจัย, 7(1), 1–14.
เบญจพร อยู่เจริญ. (2551). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเรียนและ
ปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มบูรพา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ).
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
เมริกา ตรรกวาทการ. (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์สำหรับ
นักเรียนประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
โรงเรียนจิตรลดา. (2560). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2559.
วรนารถ อยู่สุข. (2555) การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลและความคิดสร้างสรรค์ทาง
คณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ชุดกิจกรรมเสริมหลักสูตรคณิตศาสตร์ และ
วงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย).
วันเพ็ญ นันทะศรี. (2560). การพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาด้วยการเขียนแผนที่
ความคิด. บัณฑิตศึกษา, 14(64), 43–50.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2558). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน Creativity – based Learning
(CBL). นวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2), 23–37.
สมพร หลิมเจริญ. (2552). การพัฒนาหลักสูตรเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนช่วง
ชั้นที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
สิรินทร์ ลัดดากลม บุญเชิดชู. (2559). การพัฒนาความสามารถด้านการคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา
สาขาการศึกษาปฐมวัย โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง. Veridian
E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 1245–1261.
อัญชลี สารรัตนะ. (2559). การประเมินความต้องการที่จำเป็น (Needs Assessment) เพื่อการ
พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
24(1-2), 9 – 20.
อารี พันธ์มณี. (2557). ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย).
Davis, G. A. (2003). Identifying Creative Students, Teaching for Creative Growth. In Conlangelo,
N., & Davis, G. A., Handbook of Gifted Education, pp. 311-324. United State of
America: Pearson Education. Guilford, J. P. (1967). The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw-Hill Book. Lucas, B., G. Claxton, & E. Spencer (2013). Progression in Student Creativity in School:
First Steps Towards New Forms of Formative Assessments, OECD Education
Working Papers, No.86, Paris: OECD Publishing.
Translated Thai References (ส่วนที่แปลรายการอ้างอิงภาษาไทย) Abhisit T. (2016). Activities to promote creativity for children and youth. Bangkok: Chulalongkorn
University Press. [In Thai] Boonchucherd, L. S. (2016). Development of creative abilities of students Early Childhood
Education by using self-directed learning management processes. Veridian E-Journal,
Silpakorn University, 9(2), 1245-1261. [In Thai] Buaphan T. (2015). The presentation of school administration strategies for enhancing
the creative features of elementary school students. (Doctoral’s thesis, Chulalongkorn
University). [In Thai] Chitralada School. (2017). Self-assessment report of the academic year 2016. [In Thai] Limcharoen S. (2009). Curriculum development to promote creativity. For 2nd grade
students (Doctoral’s thesis, Srinakharinwirot University). [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-10