APPROACHES TO ENHANCE WORK ENGAGEMENT OF TEACHER AT WATRAJABOPIT SCHOOL
คำสำคัญ:
Work Engagement, Teachers, School, Enhance Work Engagementบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในงานของครูโรงเรียนวัดราชบพิธ 2) นำเสนอแนวทางการเสริมสร้างความผูกพันในงานของครูโรงเรียนวัดราชบพิธ การวิจัยนี้เก็บข้อมูลจากครูโรงเรียนวัดราชบพิธจำนวน 106 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของร่างแนวทางการเสริมสร้างความผูกพันในงานของครูโรงเรียนวัดราชบพิธ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ไม่มีปัจจัยใดที่มีอิทธิผลต่อความผูกพันในงานโดยรวมของครู แต่เมื่อพิจารณาในงานแต่ละด้านพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในงานดูแลและช่วยเหลือนักเรียนคือ การมีอิสระในการทำงาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในงานโรงเรียนและ บริการต่าง ๆ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน และ ปัจจัยที่อิทธิพลต่อความผูกพันในงานสอน คือ การได้รับโอกาสพัฒนางาน มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) แนวทางการเสริมสร้างความผูกพันในงานของครูโรงเรียนวัดราชบพิธ ประกอบด้วย 3 ด้าน รวมทั้งสิ้น 9 แนวทาง ได้แก่ 1) ด้านความมีอิสระในงาน คือ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและสามารถเสนอความคิดเห็นของตนเอง 2) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน คือ โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและทำให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และ 3) ด้านการได้รับโอกาส พัฒนางาน คือ ผู้บริหารมีนโยบายในการสนับสนุนให้ครูพัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อเลื่อน วิทยฐานะหรือได้รับการยอมรับจากบุคคลภายนอก
Downloads
References
ชรินทร์รัตน์ ปัทมาพิสุทธิ์. (2557). ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
ธัญญารักษ์เชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง).
ดลนภา ดีบุปผา. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมในองค์กร ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
กับความผูกพันในองค์กร ของพนักงานบริษัทเอบี ฟู้ด จังหวัดสมุทรปราการ. (การศึกษา
ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโทขทัยธรรมมาธิราช).
ทิวาวัฒน์ ธนาสนะ. (2559). บทบาทการสร้างสัมพันธภาพในองค์กรขนาดใหญ่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร, 9 (1), 1090-1098.
ธฤตา วงศ์สารัตน์. (2555). ปัจจัยความเหนื่อยหน่ายของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 (Predicting Variaables to Burnout of Teachers under Nan Primary Educationnal Service Area Office1), วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 38(2), 209-222.
ธีรภัทร กุโลภาส. (2556). อิทธิพลของภาวะผู้นำที่แท้จริงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนโดยมีการ มองโลกเชิงบวกทางวิชาการและความยึดมั่นของครูเป็นตัวแปรส่งผ่านและขนาดโรงเรียนเป็นตัวแปรปรับ : การวิจัยแบบผสมวิธี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
เนติยา แจ่มทิม. (2557). ตัวแปรที่มาก่อนความยึดมั่นผูกพันในงานแลการเสริมสร้างอำนาจที่ส่งผลต่อ
ผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของอาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลราชชนนี กระทรวงสาธารณสุข. (ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
ปัญจมาศ ทวิชาตานนท์. (2555). ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของเจ้าหน้าที่
องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรที่ปฏิบัติงานด้านเอดส์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
ปิยะพันธ์ ทยานิธิ. (2558). ความเป็นอิสระกับการกำกับดูแลที่ดี. Forbes Thailand Magazine.
สืบค้น 15 มิถุนายน 2561, จาก https://www.forbesthailand.com/commentaries -detail.php?did=312
ปิยะวรรณ สายเพ็ชร. (2554). บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการเรียนการสอนของครูใน
โรงเรียน สังกัดองค์กรการบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยปทุมธานี).
ภาณุพงศ์ ศรีสุริยชัย. (2555). การพัฒนาทรัพยากรนุษย์ตามแนวคิดการบริหารจัดการที่เน้นความเป็น
มนุษย์ในโรงเรียนทางเลือก. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
โรงเรียนวัดราชบพิธ. (2558). รายงานวิธีการและผลการดำเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับองค์กร (ScQA). กรุงเทพมหานคร:
โรงเรียนวัดราชบพิธ. โรงเรียนวัดราชบพิธ. (2560). งานบุคลากรโรงเรียนวัดราชบพิธ. กรุงเทพมหานคร: โรงเรียนวัดราชบพิธ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579, ครั้งที่ 1. บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
หทัยทิพย์ สีส่วน. (2556). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างคุณภาพของกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับความยึดมั่นในการทำงานของนิสิตครูโดยมีความเชื่อในความสามารถของตนเป็นตัวแปรส่งผ่าน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิทยาการวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
อรพินทร์ ชูชม. (2557). วิเคราะห์โครงสร้างความยึดมั่นผูกพันในงาน, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 11(2) กรกฎาคม-ธันวาคม 2557. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อุษณีย์ รองพินิจ. (2555). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการคงอยูในงานอาชีพครูผ่านการยึดมั่น
ผูกพันกับงาน (DEVELOPMENT OF A CAUSAL MODEL OF TEACHER RETENTION WITH WORK ENGAGEMENT AS MEDIATOR). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
Albrecht, Simon, L. (2013). Work engagement and the positive power of meaningful work,
in Advances in positive organizational psychology. Bingley, England: Emerald
Group Publishing Limited, pp. 237-260. Bakker, A. B. (2011). An evidence-based model of work engagement. Current Directions
in Psychological Science, 20(4), 265-269. Bakker, A .B., & P. M. Bal. (2010). Weekly work engagement and performace. A study
among starting teachers. Journal of Occupational and Organizational Psychology,
83, 189-206. Schaufeli, W. B., & Salanova, M. (2008). 18 Enhancing work engagement through the
management of human resources. The individual in the changing working life, 380.
Translated Thai References (ส่วนที่แปลรายการอ้างอิงภาษาไทย) Chamtim, N. (2014). The variables that came before the commitment to work and the
strengthening of the influence performance and good membership behavior of
the organization of nursing instructors Rajachonnani Nursing College Ministry of
Public Health. (Doctoral’s thesis, Kasetsart University). [In Thai] Choochom, A. (2014). Analysis of work commitment structure. Journal of Management
and Technology Eastern University, 11(2) July-December 2014. [In Thai] Dibhupha, D. (2012). The relationship between culture in the organization Relationship
with colleagues and Commitment in the organization of employees of AB Food
Company, Samut Prakan Province. (Independent study, Master's degree, Sumutha
Thammamathirat University). [In Thai] In-Ong, K. (2005). Elements that influence employee collaboration of Bangkok Television
and Radio Company Limited, Chatuchak District, Bangkok. (Master’s thesis,
Srinakharinwirot University). [In Thai] Kulopas, D. (2013). The influence of true leadership on student achievement with looking
at the positive academic world and teacher adherence as a transmission variable
and school size as an adjustment variable: mixed method research (Doctoral’s
thesis, Chulalongkorn University). [In Thai] Office of the Education Council. (2017). National education plan 2017-2036 (1st Edition).
Prickwan Graphic Co., Ltd. [In Thai] Pattamapisut, C. (2014). Organization commitment of hospital staff in Thanyarak Chiang Mai.
(Master's thesis, Mae Fah Luang University). [In Thai] Rongpinij, A. (2012). Development of a causal model of teacher retention with work
engagement as mediator. (Master thesis, Chulalongkorn University). [In Thai] Saipetch, P. (2011). The role of school administrators in promoting teaching and learning
of teachers in Nonthaburi Province administration organization. (Master's thesis,
Pathum Thani University). [In Thai] Sisuan, H. (2013). The causal relationship between the quality of the professional
experience process and adherence to the work of the students, with the belief
in their abilities as passing variables. (Master thesis, Chulalongkorn University). [In Thai]
Srisuriyachai, P. (2012). Human resource development based on the soft-side management
concepts in alternative schools. (Master’s thesis, Chulalongkorn University). [In Thai] Thanasana, T. (2016). Role of relationship building in large organizations. Academic journal
Silpakorn University, 9(1), 1090-1098. [In Thai] Thawichatanont, P. (2012). Multilevel factors that affect the commitment of staff. Non-profit
organizations operating in AIDS. (Master's thesis, Srinakharinwirot University). [In Thai] Thayanithi, P. (2015). Independence and good governance. Forbes Thailand Magazine.
Retrieved June 15, 2018, from https://www.forbesthailand.com/commentaries -detail. php? Did = 312. [In Thai] Wat Ratchabophit School. (2015). Report on methods and performance according to the
quality award criteria of the Office of the Basic Education Commission (ScQA).
Bangkok: Wat Ratchabophit School. [In Thai] Wat Ratchabophit School. (2017). Division of Human Resource at Wat Ratchabophit School.
Bangkok: Wat Ratchabophit School. [In Thai] Wongsarat, T. (2012). Burnout factors of teachers Under the Office of Nan Primary Educationnal
Service Area Office1. Journal of Social Sciences and Humanities, 38(2), 209-222. [In Thai]