การให้คำปรึกษาเชิงพุทธ: สมรรถนะที่ท้าทายสำหรับอาจารย์พยาบาล
การให้คำปรึกษาเชิงพุทธ : สมรรถนะที่ท้าทายสำหรับอาจารย์พยาบาล
คำสำคัญ:
การให้คำปรึกษาเชิงพุทธ, สมรรถนะที่ท้าทาย, อาจารย์พยาบาลบทคัดย่อ
การให้คำปรึกษาเชิงพุทธ เป็นองค์ความรู้ด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่ผสมผสานและสังเคราะห์ระหว่างองค์ความรู้ทฤษฎีจิตวิทยาตะวันตกเข้ากับหลักธรรมทางพุทธศาสนาของโลกตะวันออก เป็นการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจนตกผลึก โดยใช้หลักพุทธธรรมเป็นกรอบแนวคิดพื้นฐานในการทำงาน เข้าใจโลกตามความเป็นจริง สามารถจัดการสิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม โดยใช้หลักธรรมอริยสัจ 4 เป็นแผนที่นำทางออกจากทุกข์ (โสรีช์ โพธิแก้ว, 2553) อาจารย์พยาบาลมีความจำเป็นต้องทำหน้าที่ทั้งในส่วนของครูประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งมีส่วนสำคัญในการช่วยเหลือ และตัดสินใจแก้ไขปัญหาของนักเรียนพยาบาล โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดจากการความเครียดจากการเรียนภาคทฤษฎีเชิงวิชาชีพ ปรับตัวในภาวะกดดันที่จะต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากผู้ได้รับการดูแล เป็นผู้ที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความเจ็บป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ในเชิงปฏิบัติทักษะการพยาบาล อีกทั้งระบบการดูแลแบบอาวุโส (Seniority) ทำให้นักเรียน เกิดความเครียด ความวิตกกังวลจากสภาวะที่ตนเองเผชิญโดยไม่รู้ตัว การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ ทำให้ นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง ตามกระบวนการให้การปรึกษาที่มีลำดับขั้นตอนการให้การปรึกษาเป็นไปตามแนวอริยสัจ คือ ทุกข์ (ปัญหา) สมุทัย (สาเหตุของปัญหา) นิโรธ (ความดับทุกข์) มรรค (วิธีปฏิบัติเพื่อการดับทุกข์)) ซึ่งนำมาสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของนักเรียนพยาบาลจากภายในของตนเอง
Downloads
References
Barry, J. (2006). Counseling (5th ed.). Bangkok: Charoenwit Press.
Bhavanaveeranusith, P. (2017). Counseling Procedure in Buddhist Psychology. Journal of Graduate studies Review. Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 13(3), 144-155. [in Thai]
Chantarasakul, A. (2008). Compilation of the theory and practice of consulting (3rd ed.). Education Department Sukhothai Thammathirat Open University Press. [in Thai]
Dhammapitaka, P. (Prayut Payutto). (2003). Buddhadhamma. (revised ed.): Matchena Thammasatana/Majchimapatipada or Natural Laws and Values for Life
(11th ed.). Bangkok: Sahathhamik Press. [in Thai]
Freud, S. (1917). Introductiory Lectures on psychoanalysis (Standard Edition, Vol 15-16).
Maslow, A. H. (1962). Toward a psychology of being. Princeton: D. Van Nostrand Company.
Pokaew, S. (2010). From psychology to Buddhism. Nakhon Pathom: V.Print. [in Thai]
Srathong, P., Mongkhonsiri, P., & Sroisong, S. (2020). Four Noble Truths counseling for Quitting Smoking. Journal of Social Science and Buddhist Anthropology, 5(12), 2-14. [in Thai]
Srichannil, C. (2009). Buddhist Psychology: A Guide to Healing and Developing the Human Mind. Academic Journal University of the Thai Chamber of Commerce, 29(4), 188-208. [in Thai]
Srirattanawong, S., & Baidika, K. S. (2018). Buddhist Counseling. Journal of the University of Humanities Periscope, 4 (2), 1-12. [in Thai]
Thitichottana, W. (2019). Guide to the practice of integrative Buddhist psychology counseling of monks who have a role in counseling (2nd ed.). Nonthaburi: Zen Printing Limited Partnership. [in Thai]
Waramanggalo, P. (2013). An Analytical Study of Buddhist Psychology in Tipitaka. Journal of MCU Peace Studies Special Issue. Mahachulalongkornrajavidyalaya University. [in Thai]
Wongsurin, P., Srikammul, S., & Thamphaphanna, P. (2022). Buddhist Psychology: Counseling in Buddhism. Journal of MCU Humanities, 8(1), 467-483. [in Thai]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.