นวัตกรรมการจัดการความรู้ของการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็กเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวท้องถิ่น

Main Article Content

วิภาดา มุกดา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการจัดการความรู้ของการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็กเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวท้องถิ่น ซึ่งพบว่า 1) ความใหม่ในการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็ก เป็นสิ่งใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจจะมีลักษณะเป็นตัวผลิตภัณฑ์บริการหรือกระบวนการ โดยเป็นการปรับปรุงจากของเดิมหรือพัฒนาขึ้นใหม่ก็ได้ 2) ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจในการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็ก คือ ทำให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้นได้จากการพัฒนาสิ่งใหม่นั้น ๆ ซึ่งผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นนั้นสามารถวัดได้จากตัวเงินหรือไม่เป็นตัวเงินก็ได้หรือความสามารถในการสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจให้เกิดคุณค่าที่เหนือกว่าคู่แข่งอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจสูงมากยิ่งขึ้นหรือคุณค่าที่ลูกค้าได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการที่มีอยู่ในธุรกิจโรงแรม 3) การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ในการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็ก คือ เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานของการพัฒนาให้เกิดขึ้นใหม่ ไม่ใช่เกิดจากการลอกเลียนแบบ การทำซ้ำในด้านการจัดการ ต้นทุน การตลาด ความภักดีของผู้ใช้บริการหรือการใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างสรรค์การบริการร่วมกันระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ส่งผลให้เกิดความใหม่ในการบริการเฉพาะกลุ่มหรือบุคคล

Article Details

How to Cite
มุกดา ว. (2022). นวัตกรรมการจัดการความรู้ของการบริหารจัดการโรงแรมขนาดเล็กเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวท้องถิ่น. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 16(2), 253–268. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journaldtc/article/view/263149
บท
บทความวิชาการ

References

Bacha, N. N. (2000). Developing Learners’ Academic Writing Skills in Higher Education: A Study for Educational Reform. Language and Education 16(3). 161-177.

Chesbrough, H., Vanhaverbeke, W., & West, J. (2006). Open Innovation: Researching a New Paradigm. Oxford: Oxford University Press.

Institute of Technological Development for Industry. (2018). Handbook: Hotel Business Management. Bangkok: Department of Internal Trade, Ministry of Commerce.

Lin, H.F., & Lee, G.G. (2004). Perceptions of Senior Managers toward Knowledge-Sharing Behavior. Management Decision, 42(1), 108-105.

National Innovation Agency. (2019). Innovation Management for Executives. Bangkok: Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation.

Nonaka,kujiro and Takeuchi, Hirotaka. (2000). Classic Work: Theory of Organizational Knowledge Creation. In Morey, D. , Maybury, M.T. and Thuraisingham, B.M. Knowledge Management: Classic and Contemporary Work. Mass.: The MIT Press.

Office of Nation Education Standards and Quality Assessment. (2012). Report of external quality assessment of basic education institutions. Bangkok: Office of Nation Education Standards and Quality Assessment.

Panich, V. 2012. Learning for students in the 21st century. Bangkok: Sodsri - Saritwong Foundation.

Pornprathanwech, T. (2015). Development of Small Hotels for Promo thing Cultural Tourism: a Case Study of Renovating Shophouse in the Urban District of Ratchaburi Province. Master of Architecture Thesis. Bangkok: Thammasat University.

Rodie, A. R., & Martin, C. L. (2001). Competing in the Service Sector – The Entrepreneurial Challenge. International Journal of Entrepreneurial Behavior & Research, 7(1), 5-21.

Schilling, M. A. (2008). Strategic Management of Technological Innovation. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill Education.

Smith, David. (2006). Exploring Innovation. London: McGraw-Hill.

Sosongchan, A. (2011). The Development of a Slide Presentation Module for Moodle. Master of Information Science Thesis. Nakhon Ratchasima: Suranaree University of Technology.

Special Area Development Administration Organization for Sustainable Tourism. (2018). Community-based Tourism, Thai Style, Sustainable Chic.. Retrieved 31 January 2022. From https://tatreviewmagazine.com/article/community-based-tourism/.

Tanongphaeng, W. & Na Thalang, C. (2017). Management Model for Small Hotel in Trad Province. Dusit Thani College Journal, 11(3). 1-17.

Wijan, B. (2010). Building the Learning Organization. Bangkok: Expernet Company Limited.