การท่องเที่ยวชุมชนด้วยการสร้างประสบการณ์ในงานอีเวนต์เชิงเทศกาล: กรณีศึกษา งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย

Main Article Content

ธนธร สันติชาติ
วรท พานิชวิทย์ พิณแพทย์
โกสินทร์ ปานแย้ม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของประสบการณ์ในงานอีเวนต์เชิงเทศกาล และนำเสนอแนวทางการสร้างประสบการณ์โดยใช้งานเทศกาลลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย เป็นกรณีศึกษาเนื่องจากเป็นหนึ่งในเทศกาลสำคัญระดับประเทศที่เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว มีกิจกรรมที่น่าสนใจหลากหลาย และจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ซึ่งจะเป็นการช่วยส่งเสริมให้งานมีความน่าสนใจ สามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวได้ครบทุกมิติ และเป็นการสร้างประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวที่น่าจดจำ อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนให้เจริญเติบโตมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แนวทางดังกล่าวยังเป็นประโยชน์ต่อผู้จัดงานและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องในการนำไปเป็นต้นแบบหรือปรับปรุงรูปแบบการจัดงานเทศกาลในอนาคต โดยจะทำการบูรณาการองค์ความรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับการสร้างประสบการณ์ผ่านงานอีเวนต์เชิงเทศกาล ซึ่งจะทำให้เกิดแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และการ บูรณาการร่วมกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Ayob, N., Wahid, N.A., and Omar, A. (2013). Mediating Effect of Visitors’ Event Experiences in Relation to Event Features and Post-Consumption Behaviors. Journal of Convention & Event Tourism. 14, 177–192.

Division of Information and Communication, Sukhothai Provincial Bureau. (2021). General Information. Retrieved September 14, 2021, from http://www.sukhothai.go.th.

Geus, S. D., Richards, G., and Toepoel, V. (2016). Conceptualisation and operationalisation of event and festival experiences: Creation of an event experience scale. Scandinavian journal of hospitality and tourism. 16(3), 274-296.

Ministry of Tourism and Sports. (2021). Tourist statistics. Retrieved September 14, 2021, from https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=618.

Ministry of Culture. (2020). Flying, burning candles, playing lights, celebrate the World Heritage City. Printing Arts: Bangkok.

Niphat, P. and Narongkong, R. (2012). Nostalgia in Thai Tourism Industry. Journal of Ethics Studies of Klong and Salavin River. 3, 47-60.

Panida, N., Motipa, V. and Weerapon, V. (2021). Adaptive behavior in the tourism community of tourists in Sumutsongkram province. Innovation and Management Journal. (2).

Praman, T. (2018). The community's involvement in the mining of waterways to prepare a foundation plan for the restoration of the Lower Lagoon in Songkra Province. Kat Yai Journal. 16(2), 191-212.

Rudee, S. (2020). Marketing promotion strategies for community tourism. Social Journal Research & Development. 2(4), 51-61.

Sabaithip, M., Jiratchaya, C. and Panakrit, A. (2020). Enhancing the value chain of local tourism experience. Case studies, prototype area routes, Sukhothai Province. International Academic Tourism Magazine. 16(1), 57-80.

Tourism Authority of Thailand. (2016). Meeting Documents of The LINK Project, October 2016 in Bangkok.

Weerapon, T. (2016). Community Based Tourism: CBT For the development of the quality of life of the community in the forest land. Retrieved September 14, 2021, from www.dnp.go.th.