The Opinion About Leadership for The 21st Century of Teacher Belong to Under Bangkok Metropolitan Administration, Krungtepklang Group

Main Article Content

จิดาภา ศรีดาจันทร์
Supawadee Lapcharoen

Abstract

        The objectives of this research were to investigate and compare the opinion about Leadership for the 21st Century of teacher belong to under Bangkok Metropolitan Administration, Krungtepklang Central Group according to level of education and teaching experience. A sample was selected from the teacher belong to the school under Bangkok Metropolitan Administration, Krungtepklang Group in 2020 included as a sample. This study specify sample size by uses the tables of Cohen (Cohen, Manion and Morrison, 2011, page. 147). A sample was selected using Stratified Random Sampling method. Then random from each rank that stature equally. The samples of 285 teachers. The research instrument was a set of questionnaire 5 rating scale. The hypotheses were tested by Mean, Standard deviation, T-test and descriptive One-Way Analysis


        The results were as follows: 1) The opinion about Leadership for the 21st Century of teacher belong to under Bangkok Metropolitan Administration, Krungtepklang Group whole was a high level. When ranking by the mean score from the highest to lowest, there were using innovation technology digital, human relations, a visionary leader. 2) The teacher that different level of education have an opinion about Leadership for the 21st Century whole and each was different at the statistical .05 By the way the teacher that higher bachelor’s degree have many opinions more than the teacher that have bachelor’s degree. 3) The teacher that have different experience have an opinion about Leadership for the 21st Century whole and each was different at the statistical .05  By the teacher that have experience in work 5-10 years and the teacher that have experience higher than 10 years have an opinions about communication skills , creative skills, innovation technology digital skills, human relations skills and, a visionary leader  skills  more than the teacher have experience 5 years.  

Article Details

Section
RESEARCH ARTICLES

References

ทิพจุฑา ดวงไทย. (2560). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่ม ดอยอินทนนท์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34. วารสารออนไลน์บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, สืบค้นจาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/index.php/abstractData/indexBy?bid=2.

บุญส่ง กรุงชาลี (2561). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.

ปัญจพร ช้างเขียว. (2559). ความคิดเห็นของครูต่อภาวะผู้นำทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มโรงเรียนสระยายโสม อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารออนไลน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, สืบค้นจาก http://www.edujournal.ru.ac.th/index.php/abstractData/indexBy?bid=2.

มณฑาทิพย์ นามนุ (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

รณรงค์ ศุภรัศมี. (2563).สมรรถนะหลักสำหรับนักบริหารระดับสูงภาครัฐของไทยในศตวรรษที่ 21. กำลังคน (ภาครัฐ) ในศตวรรษที่ 21. ปีที่ 62(ฉบับที่ 2), 4-9. สืบค้นจาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/ocsc_e-journal-year-62-2-2563.pdf.

วิจารณ์ พานิช (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. (2563). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2564 – 2569). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์. (2563). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการ, สืบค้นจาก https://so03.tcithaijo.org/index.php/JMND/article/download/243396/164826.