การพัฒนาหลักสูตรความสามารถ

ผู้แต่ง

  • จักรพันธ์ ลิ่มมังกูร คณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
  • ธีระภัทร ประสมสุข

คำสำคัญ:

การพัฒนา, หลักสูตรความสามารถ

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรความสามารถ กล่าวถึงการจัดทำเอกสารหลักสูตร ประกอบด้วยคำแถลงวัตถุประสงค์และวัตถุประสงค์เฉพาะ ระบุถึงการเลือกและการจัดระเบียบของเนื้อหาที่แสดงรูปแบบบางอย่างของการเรียนรู้และการสอน  ได้แก่วัตถุประสงค์ของผู้สร้างหรือเนื้อหาที่องค์กรต้องการให้เรียนรู้ หลักสูตรความสามารถ เป็น หลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์ของกระบวนการเรียนรู้ คือ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ/ทัศนคติ  ผู้เรียนนำไปประยุกต์ใช้โดยไม่ได้มุ่งเน้นสิ่งที่คาดหวังว่าจะเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่กำหนดแบบหลักสูตรดั้งเดิม  กระบวนการพัฒนาหลักสูตรความสามารถ  ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น การสร้างหลักสูตร  การดำเนินงาน  และการประเมินผลการเรียนรู้/การฝึกอบรมความสามารถ   

References

กรมส่งเสริมสหกรณ์. (2564). การติดตามและประเมินผลโครงการฝึกอบรม หลักการและเหตุผล. สืบค้น 23 มิถุนายน 2564, จาก http://km.cpd.go.th/pdf-bin/pdf_7211500671.pdf

ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2553ก). คู่มือการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ: CBC Development Manual. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.

ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2553ข). คู่มือการพัฒนาโมเดลสมรรถนะ: Competency Model Development Manual. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.

ชัชรินทร์ ชวนวัน. (2555). คู่มือหลักสูตรการพัฒนานักบริหารระดับกลางตามหลักสมรรถนะ : สป.ศธ. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.

Roe, R.A. (2002). What makes a competent psychologist?. The European Psychologist, 7(3), 192-203.

Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York: Harcourt Brace Jovanovich.

Unruh, W. G., & Wald, R. M. (1984). What happens once an accelerating observer has detected a Rindler particle?. Phys.Rev.D, 29, 1047-1056.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29