ผลการใช้หน่วยการเรียนรู้เรื่อง อาหารพื้นบ้านล้านนา โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการท่องเที่ยว วิทยาลัยการอาชีพจอมทอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
1. ผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้หน่วยการจัดการเรียนรู้เรื่อง อาหารพื้นบ้านล้านนา โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 20.68 และหลังการเรียนเท่ากับ 34.23 นักศึกษามีความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเท่ากับ 13.55 คิดเป็นร้อยละเท่ากับ 33.88
2. ผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้หน่วยการเรียนรู้เรื่อง อาหารพื้นบ้านล้านนา โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความพึงพอใจต่อการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด
The purpose of this study was 1) to study and compare the pretest-posttest learning achievement on Lanna Traditional Foods through local wisdom for Second Year Certificate Vocational Education Students in the Tourism Department, Chomtong Industrial and Community Education College 2) to study the students’ level of satisfaction with learning about Lanna Traditional Foods through local wisdom.
The sample group was 15 students for Second Year Certificate Vocational Education Students in Tourism Department, Chomtong Industrial and Community Education College in the second semester of 2012. The tools for this study were 7 lesson plans on Lanna Traditional Foods through local wisdom for 22 hours. 40 the pretest-posttest questions to study achievement levels. The performance skill and the students’ level of satisfaction with Lanna Traditional Foods through local wisdom. The collected data were analyzed into mean, and standard deviation.
The results showed that :
1. The posttest scores of the learning unit on Lanna Traditional Foods through local wisdom were higher than the pretest scores. Pretest and posttest average were 20.68, 34.23. The Students with the advancement of academic achievement equals 13.55 percent at 33.88.
2. The students’ level of satisfaction with the learning unit on Lanna Traditional Foods through local wisdom was at a high level.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว