ข้อสังเกตของปรีดี พนมยงค์ เรื่องการสังกัดพรรคการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517

Main Article Content

สุรชัย เดชพงษ์

บทคัดย่อ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทยที่กำหนดให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมืองและกำหนดให้ความเป็นสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงเมื่อพ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับในเวลาต่อมาก็บัญญัติเรื่องดังกล่าวไว้ อย่างไรก็ตาม นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและผู้นำคนสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย มีข้อสังเกตต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 ว่าการที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง ไม่อาจแก้ปัญหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย้ายสังกัดพรรคการเมืองได้ ทั้งไม่เป็นไปตามต้นแบบการปกครองอย่างของต่างประเทศ มีลักษณะที่เอื้อต่อกลุ่มทุนและอภิสิทธิ์ชน อันอาจนำไปสู่การต่อสู้นอกรัฐสภา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2559). กฎหมายรัฐธรรมนูญ แนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

เชาวน์วัศ เสนพงศ์. (2547). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นิพันธ์ บุญหลวง. (2533). การย้ายพรรคของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. (2556). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรีดี พนมยงค์. (2518). รัฐธรรมนูญฉบับบังกะหล่า กับ “ผู้เกินกว่าราชา”. กรุงเทพฯ: ประจักษ์การพิมพ์.

พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2498. (2498). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 72 ตอนที่ 77. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2498

ยุทธพร อิสรชัย. (2555). การปฏิรูปพรรคการเมือง: การบังคับให้สังกัดพรรค การยุบพรรค และการทำให้พรรคต้องตอบสนองความต้องการของปวงชน เอกสารวิชาการชุดปฏิรูปสถาบันการเมือง ลำดับที่ 2555-2. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2517. (2517). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 91 ตอนที่ 169. สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_thcons/10cons2517.pdf

วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2554). บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสมาชิกรัฐสภาในการรักษาวินัยพรรคการเมืองและการปฏิบัติหน้าที่ใน ฐานะผู้แทนปวงชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

สมเกียรติ์ อ่อนวิมล. (2557). บังคลาเทศ VS ไทยประเทศ ประชาธิปไตยแบบรุนแรง ทำลายขายชาติตลอดกาล. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews-article/26450-ss_26450.html

สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2548). กฎหมายรัฐธรรมนูญ หลักการใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สีดา สอนศรี, วิทยา สุจรติธนารักษ์, สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ และชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2546). พรรคการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาเฉพาะ ประเทศอินโดนีเชีย ฟิลิปปินส์ ไทยและมาเลเชีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุพจน์ ด่านตระกูล. (2516). สาส์นจากท่านปรีดีฯ ถึงฯ พณฯ สัญญา. กรุงเทพฯ: ประจักษ์การพิมพ์.

Palombara, J. L., Anderson, J., Hawkesworth, M., and Kogan, M. (ed). (2004), Encyclopedia of government and politics volume 1. New York: Routledge.