สถานการณ์และผลกระทบจากการใช้มาตรการด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ในประเทศไทย

Main Article Content

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์
จิรายุ ทรัพย์สิน
วันชัย สุขตาม

บทคัดย่อ

แม้ว่าสถานการณ์และผลกระทบจากการใช้มาตรการด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันออกไป แต่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาก็ยังถือว่าเป็นหนึ่งในภาษีทางตรงที่มีบทบาทอย่างสูงในการกระจายรายได้และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ทั้งนี้ ภาครัฐจะต้องคำนึงถึงประเภทภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและ/หรือปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยการดำเนินการปฏิรูปภาษีทั้งโครงสร้างภาษี การปรับอัตราภาษีใหม่ รวมตลอดทั้งการทบทวนมาตรการให้การยกเว้นบางประเภท เพื่อช่วยให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมและยังสามารถช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ในสังคมไทยอย่างแท้จริง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.World Bank. (March 15, 2017). Thailand became an upper-middle income economy in 2011. Retrieved. from Website: http:// www.worldbank.org/en/country/thailand/overview.
2.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2558, กรุงเทพฯ, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2558.
3.OECD. (March 15, 2017). How tax can reduce inequality. Retrieved. from Website: http://oecdobserver.org/news /fullstory.php/aid/3782/How_ tax_can_reduce_inequality.html.
4.Majid Sameti and Leila Rafie, “Interaction of Income Distribution, Taxes and Economic Growth,” Iranian Economic Review, Vol. 14 No. 25, pp. 67-81, 2010.
5.วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ และอมรเทพ จาวะลา, บทที่ 10 การศึกษาความไม่เท่าเทียมกันในการจ่ายภาษีทางตรงกับภาระของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ในการปฏิรูปเพื่อความเป็นธรรมในสังคม, กรุงเทพฯ, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2557.
6.Jorge Martinez-Vazquez Blanca Moreno-Dodson, and Violeta Vulovi, “The Impact of Tax and Expenditure Policies on Income Distribution: Evidence from a Large Panel of Countries. Hacienda Pública Española, Vol. 200 No. 1, pp. 95-130, 2010.
7.Thomas Piketty and Nancy Qian, “Income Inequality and Progressive Income Taxation in China and India 1986–2015”, American Economic Journal: Applied Economics, Vol. 1 No. 2, pp. 53-63, 2009.
8.สำนักงบประมาณของรัฐสภา, “การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2533-2557” กรุงเทพฯ, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558.
9.International Monetary Fund, “Fiscal Policy and Income Inequality” Washington, D.C., International Monetary Fund, 2014.
10.ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น, “สถานการณ์ความยากจนและความเหลี่ยมล้ำทางรายได้ในประเทศไทย”, วารสารนักบริหาร, 32(1), 3-10, 2555.
11.OECD, “Income inequality and growth: The role of taxes and transfers,” OECD Economics Department Policy Notes, No. 9, pp. 1-14, 2012. ประเทศไทย, 2557.
12.สำนักงบประมาณของรัฐสภา, การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2533-2557กรุงเทพฯ, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558.
13.สมชัย จิตสุชน และจิราภรณ์ แผลงประพันธ์, บทที่ 12 มาตรการการคลังเพื่อความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม: การขยายฐานภาษี ในการปฏิรูปเพื่อความเป็นธรรมในสังคม, กรุงเทพฯ,สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2557.
14.Denvil, Duncan, “Essays on Personal Income Taxation and Income Inequality”, Dissertation Doctor of Philosophy in the Andrew Young School of Policy Studies, Georgia State University, 2010.
15.นิจจารีย์ กีรติบำรุงพงศ์ และจิรศักดิ์ รอดจันทร์, “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากรของประเทศไทย,” วารสารมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 3(3): 642-653, 2555. 
16.ปัณณ์ อนันอภิบุตร. (1 พฤษภาคม 2560). การปฏิรูประบบภาษีเพื่อสังคมไทยเสมอหน้า. จากเว็บไซต์ www.econ.chula.ac.th/public/ publication/project/Poli/Full-Paper_ tax_pan.pdf
17.สุมาลี สถิตชัยเจริญ และคณะ. (1 พฤษภาคม 2560). การศึกษาผลของภาษีมูลค่าเพิ่มต่อการสร้างความเป็นธรรมในการกระจายรายได้และเศรษฐกิจของประเทศไทย. จากเว็บไซต์ www.fpo.go.th/ e_research/ebook/pdf_file/1341904832.pdf.
18.Eric Engen & Jonathan Skinner, “Taxation and Economic Growth,” National Tax Journal, Vol. 49 No. 4, pp. 617-42, 1996.
19.Denvil, Duncan, “Essays on Personal Income Taxation and Income Inequality,” Dissertation Doctor of Philosophy in the Andrew Young School of Policy Studies, Georgia State University, 2010.